อวสานรองเท้าหรู
ในทศวรรษ 70 นั้นยี่ห้อหรูยังไม่ได้กล้ำกรายเข้ามาในสังคมไทยนัก จำได้ว่าร้านค้าบางแห่งนำเครื่องหนังยี่ห้อดังเข้ามาขาย เช่นร้าน Why Not มีสาขาที่ราชดำริอาเขตและสยามเซ็นเตอร์ เคยไปได้เข็มขัดตอนลดราคาโดยตกสังเกตว่าเส้นหนึ่งเป็น Etienne Aigner อีกเส้นหนึ่งเป็น Gucci
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2548)
ศิลปะบนหนังจระเข้
ในสายตาคนรักผลิตภัณฑ์หนังจระเข้ ลวดลายที่แตกต่างกันของพวกมันแต่ละตัวเปี่ยมไปด้วยเอกลักษณ์และศิลปะ และนี่เองที่ทำให้ “Emil Mirzakhanian” ผันตัวเองมาเป็นเจ้าของแกลเลอรี่ เวีย บากุตต้า ในมิลาน ผลิตเครื่องหนังจระเข้ ยี่ห้อ M คอลเลกชั่น ซึ่งมาจากตัวย่อของนามสกุล และเมืองเกิด Milano (มิลาน) เพราะความรู้สึกดื่มด่ำเชิงศิลป์ “หนังจระเข้เป็นศิลปะสมัยใหม่ที่หรูหรา” ทั้งๆ ที่ตอนแรกตั้งใจจะใช้ชีวิตปลดเกษียณที่เมืองไทย หลังย้ายมาในปี 2001
(Positioning Magazine มกราคม 2551)
เพราะชีวิตคือการเดินทาง
เป็นเวลาเกือบศตวรรษที่สินค้าภายใต้แบรนด์บริษัท Samsonite ยังคงเป็นผู้นำด้านกระเป๋าเดินทาง ถึงแม้ว่าวันนี้ปรัชญาการผลิตได้มีเปลี่ยนแปลงเพื่อปรับวิสัยทัศน์ในการผลิตสินค้าให้ขยายออกไป จากบทพิสูจน์ความสมบุกสมบัน (World Proof) จึงกลายเป็นความหมายของ “การเดินทาง” (Life’s journey!)
(Positioning Magazine มิถุนายน 2550)
เทรนด์ ”เท้า” อเมริกัน
จากการสำรวจของบริษัท NPD Group บริษัทวิจัยการตลาดพบว่าชาวอเมริกันใช้จ่ายเงินสำหรับซื้อรองเท้าถึง 42,000 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 1.63 ล้านล้านบาท คิดเป็นจำนวน 1,400 ล้านคู่ มากกว่าปี 2004 จำนวน 5%
(Positioning Magazine มีนาคม 2549)
ฟลายนาวเบนเข็มสยายปีกตปท.เต็มแรงหนีภาวะซบในประเทศงดแผนขยายชอป
สินค้าแฟชั่นสัญชาติไทย ฟลายนาว เบนเข็มรบรุกส่งออกเต็มสูบ ปลายปีเตรียมผุดชอปแดนปลาดิบ พร้อมลุยตะวันออกกลาง-ยุโรป ระบุเหตุหนีไปสยายปีกต่างชาติ ฉีกหนีการแข่งขันบวกกำลังซื้อลูกค้าไม่พุ่งเหมือนเดิมเหตุตลาดไทยซบจากหลากปัจจัยลบ
(ผู้จัดการรายวัน 9 กรกฎาคม 2550)
“เอคโค่”ขยายฐานวัยรุ่นเงินหนา ไทยขึ้นแท่นผลิตใหญ่สุดในโลก-เป้า3.8พันล.
เอคโค่ไทย ผงาดขึ้นแท่นสู่ฐานผลิตรองเท้าเอคโค่ ใหญ่สุดในโลก หลังทุ่มงบ 200 ล้านบาท สร้างโรงงานใหม่ปีที่แล้ว พร้อมเดินเครื่องเต็มที่ปีนี้ ด้วยกำลังผลิตรวม 5 ล้านคู่ต่อปี เปิดแผนรุกปีนี้ เตรียมขยายฐานสู่กลุ่มวัยรุ่นมากขึ้น เน้นซีอาร์เอ็ม เพิ่มช่องทางจำหน่าย ตั้งเป้าหมายรายได้รวมปีนี้ 3,800 ล้านบาท
(ผู้จัดการรายวัน 14 กุมภาพันธ์ 2549)
แปรรูปองค์การฟอกหนังล่ม
องค์การฟอกหนังส่อแววพับแผนเข้าตลาดหลักทรัพย์ หลังแผนการบริหารงาน "อาณัฐชัย รัตตกุล" ไม่ผ่านความเห็นชอบจากบอร์ด ขณะที่มีกระแสข่าวกระทรวงกลาโหมเล็งปิดกิจการหลังบริษัทมีผลการดำเนินงานขาดทุนมาตลอด
(ผู้จัดการรายวัน 16 มิถุนายน 2548)
"บาจา"ลบภาพรองเท้านักเรียนยกระดับแบรนด์สู่รองเท้าแฟชั่น
"บาจา" ในไทยฮึดสู้ทำกำไรปีแรก หลังรายได้ติดลบเกือบ 10 ปี เดินตามบริษัทแม่ปรับทิศสู่รองเท้าแฟชั่น ใส่คอนเซ็ปต์ใหม่ "Bata New Look New Life" หลังแบรนด์ผูกติดภาพรองเท้านักเรียนนานกว่า 70 ปี หมากเกมนี้เป้าหมายไม่ใช่เพื่อขยายฐานลูกค้าเพียงอย่างเดียว แต่บาจาคงมองไกลถึงความภูมิใจที่ลูกค้าทุกระดับต้องมีต่อแบรนด์ นอกเหนือจากเด็กนักเรียนเพียงกลุ่มเดียว
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 13 กุมภาพันธ์ 2549)
"ฮัช พัพพีส์"ชูสินค้าแฟชั่น รุกอะเบิฟ เดอะไลน์เจาะผู้บริโภค
Hush Puppies รุกตลาดรองเท้าผู้หญิง-เด็ก ชูสินค้าแฟชั่นพ่วงเทคโนโลยี อัดสื่ออะเบิฟ เดอะ ไลน์ หวังกระตุ้นกำลังซื้อปี'49 งัดของพรีเมียมจูงใจผู้บริโภค พร้อมขยายไลน์สินค้ากลุ่มกระเป๋าเป็นครั้งแรก เพิ่มศักยภาพแบรนด์รับมือผู้เล่นรายใหม่ที่คาดว่าจะเข้าสู่ตลาดอย่างน้อยอีก 2 ราย
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 2 มกราคม 2549)
“เครื่องหนัง” ปรับตัวติดอาวุธ เกาะขบวน “กรุงเทพฯ เมืองแฟชั่น”
- กระตุ้นธุรกิจเครื่องหนังตื่นทั้งระบบ เกาะกลุ่มปรับตัว
- สมาคมฯ เห็นพ้อง โครงการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันต้องให้สถาบันการศึกษาดูแลทั้งงบ 129 ล้านบาท พร้อมดำเนินการ
- มั่นใจเชื่อมต่อองค์ความรู้ ก้าวสำคัญของจุดเริ่มสู่ความยั่งยืน
- “เครือสหพัฒน์” เห็นดีร่วมขบวน พร้อมถ่ายทอดวิทยายุทธ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 ธันวาคม 2548)