คนหน้าเดิม
ในที่สุดบริษัท ฮิวเลตต์-แพคการ์ด (ประเทศไทย) จำกัด หรือเอชพี ก็ได้ มร.อลัน เซ็ดจีห์ มานั่งในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการคนใหม่ ที่มาจากเพื่อนข้างบ้านบริษัท เอสเอพี
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2552)
Netbook VS Notebook ความเหมือนที่แตกต่าง
บรรยากาศในงานคอมมาร์ตที่ผ่านไปเมื่อกลางเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมาจะเห็นกลุ่มผู้หญิงมาซื้อสินค้าไอทีเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะผู้หญิงกลุ่มนักศึกษาและวัยทำงาน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2551)
เมื่อ HP หันมาสู้ด้วย Design
"HP 2133 Mini-Note PC" ถือเป็นโน้ตบุ๊กอีกรุ่นที่เอชพีเปิดตัวออกมาเพื่อตอกย้ำแนวความคิดของตนในช่วงที่ผ่านมา โดยเฉพาะแนวความคิดที่ว่า "คนให้ความสำคัญในการเลือกซื้อโน้ตบุ๊กเครื่องใหม่จากรูปลักษณ์ภายนอกมากกว่าเรื่องเทคโนโลยีหรือแม้แต่เงินในกระเป๋า"
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2551)
HP Sleekbook เพราะลูกค้าชอบอะไรที่อยู่ตรงกลาง
เป้าหมายของ ฮิวเลตต์-แพคการ์ด หรือ HP อยู่ที่การมีสินค้าตอบสนองลูกค้าให้ครบทุกความต้องการ ทำให้ล่าสุดเอชพีต้องแบ่งเซ็กเมนต์ของคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กเพิ่มขึ้นมาอีก 1 เซ็กเมนต์ เมื่อเห็นว่าลูกค้ามีความต้องการที่อยู่ระหว่างกลางระหว่างสินค้าเดิมที่เอชพีมีอยู่ โดยให้ชื่อไลน์อัพของผลิตภัณฑ์ใหม่นี้ว่า Sleekbook
(Positioning Magazine 15 กุมภาพันธ์ 2556)
HP ออล-อิน-วัน IT ยุคนี้ต้อง “สวยเสร็จพร้อมใช้”
เอชพีรู้ดีว่าถ้าอยากจะเติบโตและชิงส่วนแบ่งจากตลาดคอมพิวเตอร์ที่มีอัตราเติบโตเพียง 4-5% ต่อปีนั้น อย่างน้อยบริษัทจะต้องมีการพัฒนาไลน์ของสินค้าอยู่ตลอดเวลา และที่ลืมไม่ได้ก็คือลูกค้าทุกวันนี้ไม่ได้เลือกสินค้าแค่ราคาและการใช้งาน แต่ดีไซน์ ไลฟ์สไตล์ และความทันสมัย
(Positioning Magazine ธันวาคม 2553)
เอชพีต้องมีการ์ด
เอชพี จึงเดิมเกมการตลาดรูปแบบใหม่ โดยนำกลยุทธ์ยอดฮิตอย่าง CRM หรือ Customer Relation Management เดินเกมการตลาดเพื่อมัดใจลูกค้า "ระดับบน” ที่ซื้อโน้ตบุ๊กราคาสองหมื่นห้าขึ้นไป จะได้รับบัตรสมาชิก เพื่อรับสิทธิพิเศษรูปแบบต่างๆ ที่นำมาจากไลฟ์สไตล์ลูกค้ามาเป็นหัวใจสำคัญ
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2552)
อินเตอร์+โลคัลแบรนด์เมื่อเอชพีจ้องยึดต่างจังหวัด
เอชพีวางกลยุทธ์ขายความเชื่อมั่นขยายตลาดต่างจังหวัด ด้วยนโยบายการจับมือกับบริษัทท้องถิ่นที่มีศักยภาพสูงสุด ในลักษณะยักษ์ใหญ่อินเตอร์แบรนด์บวกโลคัลแบรนด์ สนองไลฟ์สไตล์การซื้อสินค้าไอทีในต่างจังหวัดอย่างครบวงจรด้วยการเปิดร้านค้าปลีกที่เป็นทั้งโชว์รูป ร้านค้าที่จัดแสดง สาธิตการทำงาน ศูนย์ซ่อม บริการหลังการขาย รุกคืบจากภาคเหนือก่อนปูพรมไปทุกภาค
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 8 พฤษภาคม 2549)
เอชพีชูคอนเซ็ปต์ "บันเทิงเคลื่อนที่" หวังครองแชมป์ตลาดคอมพ์โน้ตบุ๊ก
เอชพีเชื่อ 2005 ปีทองของโมบิลิตี้ คาดตลาดรวมทั่วโลกอุปกรณ์เคลื่อนที่จะสูงถึง 389 พันล้านเหรียญ ในปี 2007 ส่งผลโน้ตบุ๊กกลายเป็นอุปกรณ์ดาวเด่นด้านการใช้งาน ชูคอนเซ็ปต์ "โมบิลิตี้ เอนเตอร์เทนเมนต์" ชิงความได้เปรียบช่วงกระแสของการใช้งานแบบเคลื่อนที่กำลังมา ตั้งเป้าเป็นเบอร์ 1 ตลาด โน้ตบุ๊กไทยนี้
(ผู้จัดการรายวัน 25 เมษายน 2548)
รุมชิงตลาดคอมพ์ เอชพี-เอซุส เดิมพันเบอร์ 2
แรงกระเพื่อมของการแข่งขันระหว่างเอซุสและเอชพี ส่งผลให้ปีนี้สมรภูมิคอมเมอร์เชียลดูจะมีสีสันและคึกคักตั้งแต่ต้นปี เนื่องจากมีเม็ดเงินจากภาครัฐ องค์กร และเอสเอ็มบีเข้ามาช่วยเพิ่มมูลค่าตลาดให้ขยับขึ้นไปอีก ส่งผลให้ทุกแบรนด์ต่างมีความเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อตลาดและการแข่งขันมากขึ้น
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 3 กุมภาพันธ์ 2555)
เอชพีอาจจะถอนตัวจากธุรกิจพีซี แท็บเลต-สมาร์ทโฟนจุดเปลี่ยน
เอชพีได้ส่งสัญญาณออกมาค่อนข้างชัดเจนแล้วว่า เอชพีจะยกเลิกธุรกิจการผลิตผลิตภัณฑ์ด้านคอมพิวเตอร์แท็บเลตและสมาร์ทโฟน รวมทั้งอาจจะตัดสินใจขายกิจการแผนกพีซีของตน ซึ่งเป็นแผนกที่รับผิดชอบเกี่ยวกับลูกค้ากลุ่มผู้บริโภคด้วย
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 กันยายน 2554)
“ซับแบรนด์” หัวรบ ฉีกเซกเมนต์ขยายตลาด
การเพิ่มจุดขายใหม่ๆ ให้แบรนด์ที่มีอยู่เดิมอาจต้องอาศัยลูกเล่นเรื่องของการสร้าง “ซับแบรนด์” มาช่วยสร้างแต้มต่อใหม่ในการดึงดูดผู้บริโภคฉลาดอย่างเช่นในปัจจุบันนี้ และวันนี้เราก็ได้เห็นค่ายเอชพี ยักษ์ใหญ่สัญชาติอเมริกันกระโดดลงมาสร้างซับแบรนด์ใหม่เพื่อเพิ่มสีสันให้กับตลาดคอนซูเมอร์
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 พฤศจิกายน 2553)