"ทำความรู้จักโจทก์แสนล้าน!"
ผู้ก่อตั้งกลุ่มเอื้อวิทยาฯ คือประมุขของตระกูลชื่อนายใช้ เอื้อวิทยา เสียชีวิตเมื่ออายุ
52 ปี ในสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสงครามฯ สงบบรรดาลูก ๆ ก็ ดำเนินกิจการต่อ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2533)
แบงก์กรุงเทพฯ พาณิชย์การ VS เอื้อวิทยาฯ ชาวนากับงูเห่า?!?
ค่าเสียหายจำนวน 501,190 ล้านบาทที่เอื้อวิทยาฯเป็นโจทก์ฟ้องเรียกร้องจากธนาคารกรุงเทพฯพาณิชย์การผู้เป็นจำเลย
ทำให้คดีนี้ถือเป็นคดีประวัติศาสตร์คดีหนึ่งในประวัติการฟ้องร้องตามขั้นตอนศาลของไทย
ทั้งนี้เมื่อคำนวนดูสินทรัพย์ของธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การซึ่งจำเลยส่วนมากต่างเป็นผู้บริหารในธนาคารแห่งนี้นั้น
มีเพียงกระผีกของวงเงินค่าเสียหายกว่าห้าแสนล้านบาทที่โจทก์เรียกร้อง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2533)
การฟื้นฟูฐานะ "เอื้อวิทยา"
แบงก์กรุงเทพฯพาณิชย์การตัดสินใจเข้าไปฟื้นฟูกิจการบริษัทเอื้อวิทยาฯที่มีหนี้สินอยู่
500 ล้านบาทโดยถือหุ้นใหญ่ 75% และควบคุมการบริหารทั้งหมดการฟื้นฟูได้เริ่มอย่างจริงจังเมื่อเดือนมีนาคม
2531
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2532)
EWCดันเอื้อวิทยาระดมทุนเข้าSETเพิ่มทุน84ล.หุ้นไดรูทเหลือ68.14%
บอร์ด EWC เผย เอื้อวิทยา เตรียม ระดมทุนเพื่อเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ด้วยการเสนอขายหุ้นเพิ่มทุนใหม่ 84 ล้านหุ้น พาร์ละ 1 บาท ให้กับประชาชนทั่วไปและผู้ถือหุ้นของ EWC ในราคาเดียวกัน พร้อมลดสัดส่วนการถือหุ้นเหลือ 68.14%
(ผู้จัดการรายวัน 6 ธันวาคม 2550)