“ดาวเด่นบัวหลวง” เวทีฟูมฟักยุวศิลปินไทย
"เราต้องมีความศรัทธาในเมล็ดพันธุ์พืชซึ่งมีสัญญาณแห่งชีวิตอัศจรรย์หลับรออยู่ตรงนั้นว่ามันจะกลายเป็นต้นไม้ร้อยอ้อมผู้ให้ชีวิตในชั่วพริบตานั้นไม่ได้ ต้องถูกบ่มเพาะในเนื้อนาบุญอันอุดม และอาจต้องใช้เวลานานพอสมควร" ถ้อยคำของอาจารย์ถวัลย์ ดัชนี ฟังดูคมคายและหนักแน่น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2552)
นิทรรศการ "ไตรสูรย์" ถวัลย์ ดัชนี
ถวัลย์ ดัชนี "ช่างวาดรูปแห่งแผ่นดินล้านนา" ผู้อหังการด้วยผลงานภาพวาดราคาแพงระยับ ที่ชนชั้นสูงล้วนไขว่คว้าไปครอบครอง แต่ห่างหายจากการจัดแสดงผลงานเดี่ยวในเมืองไทยมานานกว่า 30 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2547)
ระหว่างธุรกิจกับศิลปะในทัศนะของ ถวัลย์ ดัชนี
“ผมเป็นช่างวาดรูป เพราะฉะนั้น ผมก็ต้องทำหน้าที่ของช่างวาดรูป คนจะดูหรือจะไม่ดูก็ไม่เกี่ยวกับผม เพราะไม่ใช่กิจของนักวาดรูป ผมไม่เคยถามดวงดาวในห้วงเวหาว่าเปล่งแสงไปที่ไหน ไม่เคยถามนกที่ร้องเพลงในอากาศว่าทำไมถึงร้องเพลง ผมไม่เคยถามถึงรสหวานที่มีอยู่ในกลีบดอกไม้ เพราะมันคือธรรมชาติ”
(Positioning Magazine มีนาคม 2548)
ชลิต นาคพะวัน จากเส้นทางบันเทิง สู่แนวทางศิลปะ
“กลิ่นสีและทีแปรง” กับ “กลิ่นสีและกาวแป้ง” คงทำให้ใครหลายๆ คนในตอนนั้นเปิดโลกรู้จักชีวิตนักศึกษาศิลปากร จากปลายปากกาของจิตรกรที่ชื่อ พิษณุ ศุภนิมิตร ก่อนที่จะถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ในเวลาต่อมา ในปี2535 กับ 39 หนังเสน่ห์แรงเรื่องนี้ได้สร้างกลุ่มนักแสดงอารมณ์ดี จากกลุ่มนักเรียนศิลปะจนเป็นที่จดจำกันหลายคน แข่งกับกลุ่ม “ซูโม่” นักศึกษาสถาปนิกจากจุฬาฯ จนกลายเป็นนามสกุลที่เรียกติดปากว่า “กลิ่นสี”
(Positioning Magazine มีนาคม 2548)