จับตาทุนเท็กซ์ฯ ครบวงจรสร้างความมั่นคงหรือจะเป็นดาบสองคม
บมจ.ทุนเท็กซ์ (ประเทศไทย) หรือ TUNTEX หนึ่งในอีกหลายบริษัทที่กำลังเจอมรสุมกับการดำเนินธุรกิจ
หนทางออกที่ทุนเท็กซ์ฯ เลือกปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาต่างๆ เหล่านี้ คือแผนการทำธุรกิจอุตสาหกรรมสิ่งทอของตัวเองให้ครบวงจรเร็วที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2540)
ทุนเท็กซ์ล้มอาโมโก้ เมื่อไซนีสสไตล์เป็นต่อ
"ทุนเท็กซ์" คือผู้ชนะในการสร้างโรงงานพีทีเอ วัตถุดิบหลักในการผลิตเส้นใยสังเคราะห์
ส่วนสำคัญของตลาดสิ่งทอที่มีแนวโน้มขยายตัวอีกมหาศาลในอนาคต ด้วยปรัชญาการทำงานในสไตล์แบบจีน
ความสัมพันธ์ที่เข้าถึงจิตใจของราชการ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)
"ทุนเท็กซ์" คว้าโครงการพีทีเอ ชัยชนะของ "แบงก์กรุงเทพ"
หลายคนบอกว่างานนี้เป็นชัยชนะของแบงก์กรุงเทพ วันนั้น 30 กันยายน 2534 บอร์ดใหญ่ของบีโอไอซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานโดยตำแหน่งได้ตัดสินให้บริษัท ทุนเท็กซ์ ไต้หวันเป็นผู้ชนะในโครงการพีทีเอ เฉือนอโมโก้จากสหรัฐอเมริกาไปอย่างลอยลำทั้งที่เดิมอโมโก้เป็นตัวเต็งที่ทุกฝ่ายเห็นว่าเขาจะคว้าชัยชนะในครั้งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)
TUNTEXลดก่อนเพิ่มทุนใหม่โอนหุ้นให้เจ้าหนี้แทนเงินสด
ศาลฯสั่ง TUNTEX ลดทุน เหลือ 2,780 ล้าน ก่อนเพิ่มอีก 8 พันล้านบาท ซึ่งเป็นการโอนกรรมสิทธิ์ของหุ้นให้แก่เจ้าหนี้ แทนการชำระหนี้ด้วยเงินสด หวังลดภาระหนี้สินของบริษัทที่มีอยู่เกือบ 5 พันล้านบาท ซึ่งจะทำให้โครงสร้างหนี้ของทุนเท็กซ์มีความสอดคล้องกับโครงสร้างรายได้มากขึ้น
(ผู้จัดการรายวัน 26 ตุลาคม 2547)
ตลท.ย้ายTUNTEX/BRCเข้ารีแฮบโกปลดปล่อย "RANCH" กลับหมวดปกติ
ตลาดหลักทรัพย์ประกาศให้บริษัทจดทะเบียน 2 แห่งคือ TUNTEX และ BRCเข้าข่ายต้องฟื้นฟูกิจการโดยจะขึ้น
SP ห้ามการซื้อหรือขายหุ้น ดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ 12 มี.ค.47 พร้อมย้ายไปหมวด
REHABCO ในวันที่ 15 มี.ค. 2547 แต่ผ่อนผัน การประกาศเข้าข่ายต้องจัดทำแผน ฟื้นฟูกิจการของ
SRI ส่วน RANCH ซึ่งอยู่ในหมวด REHA BCO ย้ายกลับสู่หมวดปกติ
(ผู้จัดการรายวัน 12 มีนาคม 2547)