ซีอีโอใหม่ HSBC
เป็นธรรมเนียมของธนาคารเอชเอสบีซีจะต้องมีซีอีโอคนใหม่มาทุกๆ 2 ปี ล่าสุดคือแมตทิว ล็อบเนอร์ วัยเพียง 39 ปี ล็อบเนอร์ก้าวเข้ามารับตำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ธนาคารเอชเอสบีซี ประเทศไทย เมื่อเดือนมกราคม 2554 เขาร่วมงานกับธนาคารสัญชาติอังกฤษที่มีอายุเก่าแก่ที่สุด 123 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2554)
ปีแห่งการระมัดระวัง
แม้ว่าธนาคารเอชเอสบีซี สัญชาติอังกฤษ จะยืนยันว่าไม่ได้รับผลกระทบจากปัญหาซัพไพร์ม แต่เอชเอสบีซีก็เพลี่ยงพล้ำเข้าไปลงทุนในเฮดจ์ฟันด์ "เบอร์นาร์ด แอล แมดอฟฟ์ อินเวสเมนท์ ซีเคียวริตี้ส์" ที่ฉ้อฉลในลักษณะแชร์ลูกโซ่
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2552)
เรื่อง (ไม่) บังเอิญของ CEO 2 คน
การเปิดตัว CEO ของ 2 ธนาคาร ทั้งธนาคารเอชเอสบีซี และธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) ในเวลาใกล้เคียงกันมีความหมายหลายๆ อย่าง เพราะสถาบันการเงิน 2 แห่งนี้เป็นธนาคารสัญชาติอังกฤษที่มาตั้งรกรากอยู่ในเมืองไทยกว่าหนึ่งศตวรรษ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2551)
อภินิหารร่มสร้างแบรนด์
สองธนาคารอินเตอร์ล่าสุดอย่างซิตี้แบงก์ และเอชเอสบีซี ซึ่งปล่อยร่มชุดใหม่ออกมาแล้ว เพื่อกระตุ้นให้ผู้ใช้บริการการเงินนึกถึงธนาคารทุกที่ไม่ว่าอยู่ที่ไหน ด้วยความเป็นธนาคารต่างชาติ ทั้งสองธนาคารพยายามสร้างแบรนด์เพื่อเข้าถึงตลาดท้องถิ่นให้ได้มากที่สุด
( 10 พฤษภาคม 2554)
พรีเซ็นเตอร์คนแรก
“แบรนด์อินเตอร์” เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ผู้บริโภครู้สึกว่าแบรนด์นั้นไฮเอนด์ได้ไม่ยาก และมีโอกาสในการขยายฐานลูกค้าระดับบนได้ง่าย และสำหรับเมืองไทยหากผสมผสานด้วยกลยุทธ์ ”พรีเซ็นเตอร์ มาร์เก็ตติ้ง” แล้ว ถ้า ”โดน” มาร์เก็ตแชร์ก็เพิ่มขึ้นได้อย่างรวดเร็ว นี่คือความหวังล่าสุดของบัตรเครดิต HSBC กับการใช้ ”พรีเซ็นเตอร์” เป็นครั้งแรก
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2553)
บริการแบบมั่งคั่ง
150,000 คน เป็นตัวเลขของกลุ่มผู้มั่งคั่ง หรือเศรษฐีมีระดับของเมืองไทย ซึ่งธนาคารเอชเอสบีซีกำลังเอาจริงเอาจังกับการสร้างตลาดกลุ่มนี้อย่างมาก
(Positioning Magazine มิถุนายน 2550)
HSBCตั้งเป้าขยายบัตรแสนใบ เน้นแพลตินัม-ลดเกณฑ์ขั้นต่ำ
เอชเอสบีซีปรับเกณฑ์รายได้ขั้นต่ำเหลือ 1.5 หมื่นบาทต่อเดือนรับเศรษฐกิจฟื้น พร้อมตั้งเป้าโตบัตรเครดิตปีนี้เพิ่มอีก 1 แสนบัตร เน้นบัตรแพลตินัมจะดันให้โตถึง 50% หวังเพิ่มสัดส่วนเป็น 40% ใน 3 ปี ล่าสุดบัตรเครดิตเอชเอสบีซี วีซ่า แพลทินัม เจาะกลุ่มคนรุ่นใหม่รักการท่องเที่ยว
(ASTVผู้จัดการรายวัน 19 มกราคม 2553)
HSBCตั้งเป้าสินเชื่อบุคคลโต50%
พิ่มพอร์ตสินเชื่อเป็น 2 หมื่นล้านภายในปีหน้า จากปัจจุบันที่อยู่ในระดับหมื่นล้าน ขณะที่ภาพรวมตลาดคาดโตประมาณ 20% หลังสถาบันการเงินหันกลับมาสนใจปล่อยกู้มากขึ้น ล่าสุดเปิดตัวโปรโมชั่น กู้เงินแถมเงินสูงสุด 5,000 บาท พร้อมดอกเบี้ย 0% ใน แจกบัตรกำนัสสูงสุด 5,000 บาท ขีดเส้น 2 ปี
(ASTV ผู้จัดการรายวัน 6 มกราคม 2553)
เอ็นพีแอลสินเชื่อบุคคลเพิ่ม HSBCเน้นคุณภาพมากขึ้น
เอชเอสบีซีไทยรับสินเชื่อบุคคลปีนี้พลาดเป้า เหตุปรับเกณฑ์ชำระขั้นต่ำจาก 5 % เป็น 10% ส่งผลให้หนี้สูญเพิ่ม ทำให้แบงก์ต้องระมัดระวังการปล่อยสินเชื่อมากขึ้น ส่วนบัตรเครดิตโตเกินเป้าหมาย
(ผู้จัดการรายวัน 5 กันยายน 2550)
"เอชเอสบีซี"ลงจากยอดปิรามิด จับฐานระดับกลางปล่อยสินเชื่อบุคคล
"เอชเอสบีซี"ตื่นจากการหลับไหลในธุรกิจสินเชื่อส่วนบุคคล หลังประเมินสถานการณ์พบความเสี่ยงของการเกิดหนี้สูญต่ำลงเพราะเศรษฐกิจเริ่มดีขึ้น คนมีการบริโภคเพิ่มขึ้นเพราะเกิดความเชื่อมั่น อีกทั้งอัตราการตกงานลดน้อยลง ทำให้"เอชเอสบีซี"กล้าที่จะหันมาจับตลาดลูกค้าระดับกลาง หลังจากปีที่ผ่านมาเล่นแต่ลูกค้าระดับไฮเอนด์ ลั่นกลองรบแต่ต้นปี ด้วยการเปิดตัวแคมเปญ "กู้เงินแถมเงิน"
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 7 มกราคม 2553)
"HOME&AWAY"ยุทธศาสตร์แบงก์นอก HSBCอิมพอร์ตไอเดียโกลบอลเขย่าบัตรเครดิต
เครดิตอย่างเอาจริงจัง ของสาขาแบงก์จากเกาะอังกฤษ "HSBC" เมื่อ 2 ปีก่อน ในมุมมองแบงก์ทั่วๆไปจึงไม่ใช่เรื่องธรรมดา และอาจจะไม่ธรรมดายิ่งกว่านั้น ถ้าสังเกตุเห็นรูปแบบการโปรโมชั่นหนักๆ โดนใจ แบบรัวถี่ยิบแทบจะทุกสัปดาห์ พร้อมๆกับการเปิดตัว "มือการตลาด" คนใหม่ที่อิมพอร์ตตรงจากสิงคโปร์ ซึ่งกำลังเริ่มวาง "ยุทธศาสตร์" HOME&AWAY คอนเซ็ปท์ที่ว่ากันว่า เป็นข้อได้เปรียบของแบงก์นอก ที่แม้จะมีสาขาเพียงหนึ่งเดียว แต่ก็สามารถเขย่าตลาดบัตรเครดิตให้สั่นคลอนได้ในเวลาอันรวดเร็ว...
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 27 มีนาคม 2549)
"HSBC"ออกสตาร์ทรับเงินฝาก กวาดเรียบฐานลูกค้าระดับกลาง-บน
HSBC เปิดเกมตลาดเงินฝากปล่อยแคมเปญ "บัญชีเงินฝากทันใจ"อีกนวัตกรรมที่ใช้การจ่ายดอกเบี้ยเร็วเป็นลูกเล่นสำคัญในการดึงฐานลูกค้าระดับกลางถึงบน และเป็นการย้ำถึงแบงก์ที่ให้บริการครบวงจร หลังจากภาพลักษณ์ที่ผ่านมาหนักไปทางบริการด้านบัตรเครดิต
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 23 มกราคม 2549)
เอชเอสบีซี จับมือ กรุงเทพมหานคร สร้าง “ห้องสมุดสีเขียว”
ธนาคารเอชเอสบีซี ประเทศไทย จับมือ กรุงเทพมหานคร ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือสร้าง “ห้องสมุดสีเขียว” หรือ “Green Library” แห่งแรกของประเทศไทย เผยเป็นห้องสมุดประชาชน และเป็นอาคารต้นแบบในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและลดโลกร้อนแบบยั่งยืน
(ธนาคารเอชเอสบีซี ประเทศไทย 5 พฤศจิกายน 2553)
บทวิเคราะห์ภาวะเงินเฟ้อของไทย เดือนมีนาคม โดยธนาคารเอชเอสบีซี
หากตัดปัจจัยของฤดูกาลออกไป อัตราเงินเฟ้อของไทยในเดือนมีนาคม เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.1 จากเดือนก่อน ซึ่งต่ำกว่าระดับร้อยละ 0.4 ของเดือนที่ผ่านมา และต่ำกว่าประมาณการของเอชเอสบีซี ราคาข้าวที่ตกลงอย่างต่อเนื่องและการแข็งค่าของเงินบาทยังเป็นปัจจัยที่กดดันภาวะเงินเฟ้อในเดือนมีนาคม
(ธนาคารเอชเอสบีซี ประเทศไทย 9 เมษายน 2553)