โซฟี มาเป็นคู่
ด้วยความคิดที่ว่า ตลาดแผ่นอนามัยในประเทศไทยยังมีโอกาสเติบโตได้อีกมาก โดยมีผู้ใช้แค่ 40% ของผู้หญิงทั่วประเทศ แถมกว่าครึ่งยังใช้แค่วันละแผ่น ถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับประเทศญี่ปุ่นและไต้หวัน ที่มีอัตราการใช้โดยเฉลี่ยสูงถึง 3 แผ่นต่อคนต่อวัน
ยูนิ-ชาร์ม จึงส่ง “โซฟี ดับเบิ้ลเฟรช”
(Positioning Magazine กันยายน 2548)
“โซฟี” เร่งเครื่องหนี “ลอรีเอะ”เปิดศึกผ้าอนามัยชนิดกลางวันปั๊มแชร์
“โซฟี” อัดฉีด 100 ล้านบาท เข็น “ซูเปอร์ แอคทีฟ สลิม” เป็นหัวหอกขยายตลาดผ้าอนามัยชนิดกลางวัน ดัน แพนเค้ก-เขมนิจ จามิกรณ์ ขึ้นเป็นพรีเซ็นเตอร์ เจาะกลุ่มนักศึกษา-คนทำงาน พร้อมชูนโยบายสร้างแบรนด์แข็งแกร่ง เพิ่มมูลค่าสินค้าต่อเนื่อง หลังสำรวจพบหญิงไทยให้ความสำคัญกับแบรนด์เป็นอันดับ 1 เป้าหมายครั้งนี้ “โซฟี”หวังทิ้งห่าง“ลอรีเอะ”เบอร์ 2 ด้วยการขยับส่วนแบ่งเพิ่มเป็น 50%
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 3 มีนาคม 2551)
ยูนิ-ชาร์มรุกทุกแนวรบฮุบตลาดซึมซับระดับโลก
ยูนิ-ชาร์ม ขยับเป้าหมายสู่ผู้นำตลาดซึมซับระดับโลก ชูนโยบายเร่งกระตุ้นการใช้สินค้าทุกไลน์ โดยรุกขยายตลาดต่างจังหวัดเพิ่มความถี่การใช้ผ้าอ้อมสำเร็จรูปเด็กต่อเนื่อง ดันไทยทุบสถิติโลกมีแชร์สูงสุด 70%ภายในสิ้นปี ด้านตลาดผ้าอนามัย เพิ่มพฤติกรรมหญิงใช้ผ้าอนามัยชนิดกลางคืน เพื่อดันมูลค่ายอดขาย
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 5 มีนาคม 2550)
"มามี่โพโค"รุกตลาดภูธรชูไซส์ซิ่งเพิ่มการใช้ 5เท่าเทียบกทม.
แนวโน้มการแข่งขันในตลาดผ้าอ้อมเด็กสนุกแน่ เมื่อตัวเลขการเติบโตที่พุ่งสูงขึ้น 20 - 30%ทุกปีอย่างต่อเนื่อง ดึงดูดให้มีผู้เล่นหลายรายเข้ามาร่วมเล่นเป็นจำนวนมาก ส่งผลให้รายเก่าต้องพยายามรักษาส่วนแบ่ง ด้วยการออกสินค้าใหม่ควบคู่กับการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายออกไปสกัดคู่แข่ง ไม่เว้นแต่ "มามี่โพโค" ค่ายยูนิ-ชาร์ม ที่แม้จะเป็นผู้นำตลาด แต่ก็ไม่สามารถนิ่งนอนใจได้ เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายที่เป็นคุณแม่จะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 21 สิงหาคม 2549)