เมื่อซีเกทต้องสร้างแบรนด์
ลานกิจกรรมชั้น 1 พันธุ์ทิพย์พลาซา ใช้เป็นสถานที่จัดงาน "The Spectacular Seagate Bonanza" กลยุทธ์ที่ซีเกทใช้เป็นครั้งแรกเพื่อสร้างแบรนด์เข้าตรงกลุ่มผู้ใช้ระดับทั่วไป
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2547)
ซีเกท - การเมืองเรื่องสิ่งแวดล้อม
เหตุการณ์ที่พนักงานโรงงานซีเกทเทคโนโลยี (ประเทศไทย) ราว 2,000 คน ยื่นหนังสือถึงประธานาธิบดีสหรัฐฯ
โดยผ่านสถานทูตอเมริกันในกรุงเทพเมื่อวันที่ 15 สิงหาคมที่ผ่านมา ซึ่งเป็นช่วงเดียวกับที่มีการประท้วงเรื่องการฆ่าพระไทยในรัฐอริโซน่า
ทำให้ประเด็นในการประท้วงที่ปรากฏต่อสายตาสาธารณชนไม่ชัดเจนนัก
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2534)
โธ่…ซีเกท
จากนี้ไปการดำเนินกิจการของกิจการของซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) คงจะไม่ราบรื่นเหมือนอย่างที่เป็นมาแล้วห้าปีที่ผ่านมานั้นซีเกทปรับกลยุทธ์ใหม่เลียนแบบความสำเร็จของญี่ปุ่น ด้วยการโยกย้ายฐานการผลิตจากสหรัฐอเมริกามายังเอเชียอาคเนย์
ด้วยหวังแรงงานกึ่งฝีมือราคาถูก (รายละเอียดใน "ผู้จัดการ" ตุลาคม)
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2531)
กลยุทธ์ดูโอแบรนด์เส้นทางผู้นำ "ซีเกท"
ซีเกทเดินตามรอยบริษัทรถยนต์ ชูกลยุทธ์ระยะยาว "ดูโอ แบรนด์" ยกระดับแบรนด์ "ซีเกท" ขึ้นเป็นพรีเมียมแบรนด์ ราคาสูง คุณภาพสูง ไฮเทคโนโลยี ส่วนแบรนด์ "แมกซ์ตอร์" ชูเป็นแบรนด์ไฟติ้ง จูงใจด้วยราคา เทคโนโลยีทั่วไป รับประกันน้อยกว่า ฟีเจอร์ที่แตกต่าง ตอกย้ำคุณภาพสองแบรนด์ผลิตจากโรงงานเดียวกันทุกกระเบียดนิ้ว
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 30 ตุลาคม 2549)
ซีเกทโคราชรับโล่รางวัลระดับทอง
เนื่องจากเป็นสถานประกอบกิจการที่ไม่มีการประสบอุบัติเหตุถึงขั้น หยุดงานต่อเนื่อง ตั้งแต่ 10,000,000 ชั่วโมงขึ้นไปในการทำงานของลูกจ้างทั้งหมด จากโครงการ ““รณรงค์ลดสถิติอุบัติเหตุจากการทำงานให้เป็นศูนย์ (Zero Accident Campaign)” โดยกระทรวงแรงงาน
(ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย), บจก. 11 กันยายน 2551)