ปีที่ 76 คงไม่ง่ายเหมือนปีที่ผ่านๆ มา
ภายในเรือนรับรองสีขาวนวลเป็นพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการภาพเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ของสายการบินบริติช แอร์เวย์ และเครื่องแบบแอร์โฮสเตสในยุคต่างๆ ซึ่งส่งตรงมาจากพิพิธภัณฑ์สายการบินบริติช แอร์เวย์
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มีนาคม 2552)
สายการบิน Swiss อาการน่าเป็นห่วง
สายการบินแห่งชาติของ Switzerland ส่ออาการปีกหักรอบสอง หลังฟื้นคืนชีพได้เพียงปีเดียว ถ้าพูดถึงสายการบินที่กำลังขาดทุนมหาศาลหลายร้อยล้านดอลลาร์ มีปัญหาการผลิตล้นเกิน
และปัญหาการบริหารจัดการ คุณอาจนึกไปถึงสายการบินอเมริกัน ที่ขณะนี้กำลังปั่นป่วนวุ่นวายกันไปทั้งอุตสาหกรรม
จากพิษก่อการร้ายและโรค SARS แต่ไม่ใช่ เรากำลังพูดกันถึงอุตสาหกรรมการบินของยุโรป
และสายการบินที่อ่อนแอที่สุดแห่ง หนึ่งของยุโรป นั่นคือ สายการบิน Swiss
International Air Lines
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
กว่าจะพ้นหุบเหวแห่งวิกฤต"บริติช แอร์เวย์ส"
"กว่าจะพ้นหุบเหวแห่งวิกฤต" เป็นคอลัมน์ใหม่ที่นำเสนอเรื่องราวสไตล์การบริหารการจัดการของบริษัทยุโรป
ซึ่งประสบปัญหาจากการดำเนินธุรกิจด้วยสาเหตุหลากหลายตามประเภทอุตสาหกรรม
แต่บริษัทเหล่านี้สามารถแก้ปัญหาและพ้นจากวิกฤติการณ์ที่เผชิญอยู่ให้ลุล่วงด้วยดี
และพลิกโฉมหน้าขึ้นมาเป็นกิจการชั้นแนวหน้าแห่งอุตสาหกรรมแขนงนั้น ๆ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)
เล้าจน์วีไอพี
สายการบินแควนตัสและบริติชแอร์เวย์เปิดตัวห้องพักรับรอง (Lounge) ผู้โดยสารชั้นธุรกิจและชั้นเฟิร์สคลาส ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เพื่อสร้างแรงจูงใจต่อนักท่องเที่ยวและนักเดินทาง ”ระดับบน” ให้เพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ เนื่องจากตลาดในไทยส่วนใหญ่ ผู้ที่เดินทางด้วยสองสายการบินนี้ ยังคงเป็นลูกค้าระดับกลางถึงล่าง คือเป็นนักท่องเที่ยวแบบประหยัดเป็นหลัก ซึ่งขัดกับ Positioning ของแบรนด์ที่วางไว้ในระดับพรีเมียม
(Positioning Magazine มิถุนายน 2550)
หรูยิ่งกว่าหรู
สายการบินกำลังแย่งกันปรนนิบัติผู้โดยสารที่นั่งชั้นหนึ่งแบบหรูสุดขีดชนิดที่คุณไม่เคยพบเคยเห็นมาก่อน ที่พักผู้โดยสารแห่งใหม่ของสายการบิน Lufthansa ซึ่งสร้างด้วยหินอ่อนมูลค่า 15 ล้านยูโรในสนามบิน Frankfurt เป็นที่พักผู้โดยสารแห่งแรกของโลกที่สงวนไว้ต้อนรับเฉพาะผู้โดยสารระดับเฟิร์สต์คลาสเท่านั้น
(Positioning Magazine มกราคม 2549)