FED: ปฏิรูปการเงินสหรัฐฯ
หลังจากที่ประสบความสำเร็จในการผลักดันการปฏิรูประบบประกันสุขภาพแล้ว วาระถัดไปของประธานาธิบดีบารัค โอบามาอยู่ที่การปฏิรูประบบการเงินสหรัฐฯ เพื่อคุมเข้มการกำกับดูแลภาคธนาคารและตลาดทุนของสหรัฐฯ ซึ่งเป็นที่คาดหมายว่าจะมีความพยายามผลักดันร่างกฎระเบียบดังกล่าวให้ได้รับการอนุมัติเป็นกฎหมายก่อนที่จะมีการเลือกตั้งสภาคองเกรสในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2553 นี้
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤษภาคม 2553)
ฤาฟองสบู่ตลาดอสังหาริมทรัพย์โลกใกล้แตก
การสิ้นสุดยุคดอกเบี้ยถูกอาจทำให้ฟองสบู่อสังหาริมทรัพย์ในหลายเมืองทั่วโลกถึงคราวแตก แต่อาจไม่กระทบเศรษฐกิจโลกในทันที การประกาศขึ้นอัตราดอกเบี้ยเป็นครั้งแรกในรอบ 4 ปีของธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) เมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา เป็นสัญญาณว่า ยุคดอกเบี้ยถูกกำลังจะจบลง และทำให้ทั่วโลกหวั่นวิตกว่า ฟองสบู่ตลาดอสังหาริมทรัพย์โลก อาจกำลังจะแตกในไม่ช้านี้
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2547)
เงินบาทแข็งนานแค่ไหน
ค่าเงินบาทใช้เวลาเพียงไม่กี่เดือนสามารถแข็งค่ามากขึ้นจนถูกจับตามองจากตลาดอย่างใกล้ชิดจากความวิตกกังวลต่อความผันผวนในอนาคต
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
เฟดมั่นใจศก.ขึ้นดบ.อีก0.25%แบงก์ชี้กลางปี49อาร์/พีแตะ5%
ธนาคารกลางสหรัฐฯ ประกาศขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีก 0.25% ต่อเนื่องเป็นครั้งที่ 12 พร้อม ส่งสัญญาณชัดเจนจะปรับขึ้นต่อไป อีกเพื่อควบคุมภาวะเงินเฟ้อ เนื่อง จากเศรษฐกิจอเมริกันสามารถแบกรับภาระ และฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็ว หลังเผชิญการพัดถล่มของ พายุเฮอริเคน และราคาน้ำมันที่พุ่ง สูงลิ่ว ด้าน "ทนง" เตรียมปรับเป้าเศรษฐกิจใหม่โตเกิน 4.6% แน่ มั่นใจแบงก์ชาติ-พาณิชย์ ดูแล เงินเฟ้อได้ ขณะที่วงการแบงก์คาดดอกเบี้ยนโยบายของไทยกลางปีหน้าแตะ 5%
(ผู้จัดการรายวัน 3 พฤศจิกายน 2548)
"อุ๋ย"เมินผลเฟดลั่นขึ้นดอกเบี้ยยึดปัจจัยภายใน
หม่อมอุ๋ยเมินผลการประชุมเฟด ลั่นการปรับดอกเบี้ยอาร์/พีของแบงก์ชาติ ยึดปัจจัยเศรษฐกิจในประเทศเป็นหลัก ไม่หวั่นเงินทุนไหลออกแม้ส่วนต่างดอกเบี้ยสูงขึ้น เหตุยังมีเงินไหลเข้ามาในตลาดหุ้นต่อเนื่อง นายแบงก์มองต่างมุม ชี้เริ่มมีเงินทุนไหลออกบ้าง แม้ยังไม่ถึงจุดอันตรายแต่อาจกดดันให้ ธปท.ต้องขึ้นอาร์/พีในการประชุมครั้งต่อไป
(ผู้จัดการรายวัน 4 พฤษภาคม 2548)
ธปท.ไม่ห่วงเงินไหลออก เฟดขึ้นดอกเบี้ย 0.25%-จับตาแบงก์เล็ก
ธปท.ยืนยันเฟดปรับขึ้นดอกเบี้ย 0.25% ไม่ส่งผลต่อตลาดเงินภายในประเทศ ขอประเมิน 2-3 วันกระทบค่าเงินบาทหรือไม่ ส่วนเงินไหลออกไม่ห่วงเพราะติดตามใกล้ชิด ด้านนายแบงก์ประเมินแบงก์ใหญ่สภาพคล่องถ่วงยังไม่ปรับตาม แต่ให้จับตาแบงก์เล็ก
(ผู้จัดการรายวัน 23 กันยายน 2547)
ราคาน้ำมันโลกทะยานพรวดอีกระลอก นักวิเคราะห์เชื่อปีนี้จะแพงกว่าปีที่แล้ว
เมื่อน้ำมันดิบในตลาดโลกกลับทะยานขึ้นใกล้ทำระดับนิวไฮกันอีกครั้งตอนต้นเดือนนี้ นักวิเคราะห์ในแวดวงหลายรายบอกว่า ราคาในปีนี้อาจจะไต่ขึ้นเกินระดับ 60 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล สูงกว่าปีที่แล้วเสียอีก บางรายกระทั่งเริ่มพูดกันถึงความเป็นไปได้ที่ราคาจะไปถึง 75 หรือ 80 ดอลลาร์ด้วยซ้ำ ทั้งนี้หากเกิดเหตุการณ์ซึ่งทำให้การนำน้ำมันจำนวนมากออกสู่ตลาดต้องมีอันหยุดชะงักยืดเยื้อ โดยที่ความต้องการใช้ทองคำสีดำในเอเชียและสหรัฐฯก็ยังไม่ได้คลี่คลายเย็นตัวลงมา
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 11 มีนาคม 2548)
วิบัติศก.ก่อตัวเงียบเชียบยามดอลลาร์ท่วมโลก
นโยบายของธนาคารกลางแห่งสหรัฐอเมริกา (เฟด) ดูเสมือนจะชัดเจน ว่ามุ่งจะเพิ่มความเข้มงวดในมาตรการทางการเงิน วันเวลาผ่านไปยังไม่ครบ 7 เดือนเต็ม คณะกรรมการกำหนดนโยบายการเงินของเฟด (เอฟโอเอ็มซี) ปรับดอกเบี้ยขึ้นไปแล้ว 6 ครั้ง ครั้งละ 0.25% รวม 1.50% และทำให้ดอกเบี้ยพื้นฐานของระบบเศรษฐกิจอเมริกาพุ่งขึ้นแตะระดับ 2.50%แล้ว
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 14 กุมภาพันธ์ 2548)
เศรษฐกิจทั่วโลกปีใหม่นี้จะซึม? เรื่องง่ายๆ รับมือได้สบายอยู่แล้ว
นับจากคืนและวันอันหดหู่เมื่อปี 2001 อันเป็นยุคยามแห่งความอึดอัดทางเศรษฐกิจทั่วโลก สถานการณ์ค่อยๆ ปรับตัวดีขึ้นเป็นลำดับ ครั้นถึงปี 2004 จีดีพีโลกขยายตัวได้ในอัตราราว 5% ร้อนแรงที่สุดในรอบสองทศวรรษทีเดียว ธุรกิจภาคต่างๆ เริ่มผ่อนคลายจนถึงกับสามารถพุ่งขึ้นได้อย่างเหลือเชื่อ เรียกว่าเลิกไปได้เลยกับความวิตกเก่าๆ เกี่ยวกับปัญหาเศรษฐกิจถดถอย ในทางรูปธรรมภาคธุรกิจรามือจากการหั่นค่าใช้จ่าย หันกลับไปสู่ทุกกลยุทธ์เพื่อเร่งยอดขาย
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 7 มกราคม 2548)
เฟดเพิ่มมุมมองเชิงบวกต่อเศรษฐกิจมากขึ้น...
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า เฟดจะยังไม่มีความจำเป็นต้องเร่งปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายในช่วงที่เหลือของปีนี้และต่อเนื่องไปจนถึงช่วงต้นปี 2553 เนื่องจากปัญหาการว่างงานของสหรัฐฯ ที่จะยังคงยืดเยื้อ
(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. )
เฟดอัดฉีดสภาพคล่องครั้งใหญ่พลิกฟื้นวิกฤตสหรัฐฯ
ในแถลงการณ์หลังการประชุมในรอบนี้มาเป็นระบุว่า “แม้แนวโน้มระยะสั้นของเศรษฐกิจสหรัฐฯ จะยังคงอ่อนแอ คณะกรรมการฯ คาดว่า มาตรการเสริมสร้างเสถียรภาพตลาดการเงินและสถาบันการเงิน ควบคู่ไปกับแรงกระตุ้นจากนโยบายการเงินและการคลังที่ผ่อนคลายจะช่วยทำให้เศรษฐกิจสหรัฐฯ ฟื้นตัวขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป
(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. )
เฟดส่งสัญญาณยุตินโยบายดอกเบี้ย..แต่ยังเดินหน้าอัดฉีดสภาพคล่อง
ในการประชุมวันที่ 15-16 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการกำหนดนโยบายการเงิน ของธนาคารกลางสหรัฐฯ หรือเฟด ปรับลดอัตราดอกเบี้ย Fed Funds ลงมากเกินคาดถึงร้อยละ 0.75-1.00 ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยนโยบายของสหรัฐฯ แตะระดับร้อยละ 0.00 เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของการใช้อัตราดอกเบี้ย Fed Funds
(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 19 ธันวาคม 2551)