เมื่อไฟฟ้าช็อตวงการหม้อแปลงไฟฟ้า
ในยุคเศรษฐกิจยังคงทรงและทรุดอยู่อย่างนี้การปล่อยใบปลิวเป็นเรื่องที่สร้างความฮือฮาให้เกิดขึ้นอย่างมาก
ไม่ว่าจะเป็นกรณีธนาคารกรุงเทพ จำกัด หรืออย่างเมื่อต้นเดือนกรกฎาคมนี้ที่มีบุคคลนิรนามส่งใบปลิวไปยังหนังสือพิมพ์และนิตยสารต่างๆ เอ่ยพาดพิงถึงการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) และบริษัท ศิริวิวัฒน์ (2515) จำกัด
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2527)
3การไฟฟ้าทึ้งส่วนแบ่งวุ่น กฟผ.อ้างแปรรูปต้องได้สูง
กฟผ.ยืนยันแผนการเกลี่ยรายได้จากการขายส่งไฟฟ้าให้ กฟน.และกฟภ.ต้องได้รับผลตอบแทน 8.7% เหตุต่ำกว่านี้ถือว่าไม่สามารถเป็นหุ้นบลูชิพ ดังนั้นก็ไม่สมควรเข้าตลาดฯ แจงเฉือนเนื้อให้เพิ่มแล้ว 2,000 ล้านบาท ขณะที่"คลัง"เล็งศึกษาปรับแผนเพื่อหาข้อยุติ 2 ไฟฟ้าต้านเกลี่ยรายได้ให้ต่ำด้วยการไม่นำ กฟน.- กฟภ.เข้าตลาดฯ แต่จะจัดเป็นรูปบริษัท จำกัด แล้วดึงธุรกิจบริการบางส่วนแปรรูปเข้าตลาดฯแทน สหภาพฯกฟน.- กฟภ.ชี้ท้ายสุดผลักค่าไฟให้คนไทยรับ ด้านเครือข่ายไฟฟ้า-ประปาเปิดโต๊ะให้คนกทม.ลงชื่อต้านนำกฟผ.เข้าระดมทุนฯที่หน้าตลาดฯและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย 7-14 ต.ค.นี้
(ผู้จัดการรายวัน 21 กันยายน 2548)
กฟภ.จับมือไฟเบอร์ทูเดอะโฮมบริการเน็ตความเร็วสูง100เม็ก
ไฟเบอร์ทูเดอะโฮมเซ็นเอ็มโอยูกับกฟภ.นำเครือข่ายเคเบิลใยแก้วซอฟต์-ลอนซ์บริการไฟเบอร์บรอดแบนด์ 5 จังหวัด 6 เดือน สามารถใช้อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงได้ถึง 100 เม็กหรือเร็วกว่าบรอดแบนด์ทั่วไป 400 เท่า พร้อมบริการ Triple Play เล่นเน็ต มูฟวี่ออนดีมานด์และใช้โทรศัพท์ได้ในเวลาเดียวกัน เดินหน้าเจรจากฟน.เตรียมทดสอบ บริการในกทม.
(ผู้จัดการรายวัน 12 กันยายน 2548)
การไฟฟ้าเข้าตลท.47 พร้อมขายหุ้นกลางปี
บอร์ดกนท. ไฟเขียวแผนแปลงสภาพ กฟน. และกฟผ.เป็นบริษัททั้งองค์กร วาง เป้าแปลงสภาพเป็นบริษัทเรียบ
ร้อยภายในไตรมาสแรก และไตรมาส 2 ปีหน้า ก่อนจะแปรรูปเข้าตลาดหลักทรัพย์ในเดือนมิ.ย.
และ ก.ย. ตามลำดับ ขณะที่ผู้บริหารทั้ง 2 หน่วยงาน ยืนยันความพร้อม กระจายหุ้นได้กลางปี
2547
(ผู้จัดการรายวัน 23 ธันวาคม 2546)
“ถิรไทย” ประเดิมสัญญาแรกของปี กับ “กฟภ.”
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ลงนามเซ็นสัญญากับบริษัท ถิรไทย จำกัด (มหาชน) ในการซื้อขายหม้อแปลงไฟฟ้าระบบจำหน่าย ขนาด 50 MVA. จำนวน 4 รายการมูลค่างาน 118 ล้านบาท ติดตั้งที่พิษณุโลก, กบินทร์บุรี, กระทุ่มแบน และบ้านแพ้ว
(โฟร์ฮันเดรท, บจก. 22 มกราคม 2552)