รอดตายแล้ว แต่ยังห่างฝั่ง
การคืนเงินซอฟต์โลนก่อนกำหนด 7 เดือนของแบงก์มหานคร ชี้ชัดว่าผู้บริหารแบงก์แห่งนี้สามารถแสดงให้ตลาดการเงินทั้งในและนอกประเทศรับรู้ว่า มหานครฟื้นตัวจากการเจ็บป่วยแทบเอาตัวไม่รอดจากปัญหาหนี้เสีย และการขาดทุนจากการปริวรรตเงินตราต่างประเทศประมาณ 7,762 ล้านบาทเมื่อ 5 ปีก่อนเรียบร้อยแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
จากหนี้เสียกลายเป็นหนี้ดี
4 ปีเศษ ๆ ที่มาโนชเข้าแก้ปัญหาความเสียหายจากการปล่อยสินเชื่อจำนวนเกือบ
5,000 ล้านบาท มีหลายรายที่เขายอมรับว่าแบงก์ต้องตัดเป็นค่าใช้จ่ายหนี้สูญทันที
แต่ก็มีอยู่จำนวนหนึ่งที่เขาและทีมงานมีความรู้สึกภูมิใจอยู่เงียบ ๆ ในการฟื้นฟูฐานะหนี้ที่เรียกได้ว่าเป็นหนี้เสียแล้ว
ให้กลับคืนมาเป็นหนี้ที่สามารถเดินบัญชีได้ตามปกติ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
มือขวาของเจริญในแบงก์มหานคร
เจริญ สิริวัฒนภักดี เป็นคนใจกว้างต่อคนทั่วไป ที่สำคัญเขาเป็นคนมีสปิริตอย่างสูงต่อญาติในครอบครัวเอามากๆ เจริญยิ่งใหญ่ขนาดไหนในวงการค้าที่ดิจและธุรกิจอุตสาหกรรมสุราในเมืองไทยเป็นที่รู้ก้นได้
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2532)
ปปง.อายัดบิ๊กมหานครบุกค้นรัง"วีระ"ซิทก้า
ปปง.บุกเข้าอายัดทรัพย์ อดีตผู้บริหารธนาคาร มหานคร หลังพบมีการถ่ายโอนทรัพย์สินกว่า
40 ล้านบาท พร้อมให้เวลา 3 วันชี้แจงถึงความจำเป็น ขณะเดียวกันกระจายกำลัง 4 ชุด
เข้าตรวจค้นบ้าน "วีระ มานะคงตรีชีพ"อดีตผู้บริหารบงล.ซิทก้า พบบ้านทั้ง
4 หลังถูกถ่ายโอนกรรมสิทธิ์เรียบ
(ผู้จัดการรายวัน 20 กุมภาพันธ์ 2547)
ธปท.ดับฝันฟินันซ่าเป็นแบงก์
แบงก์ชาติแจงแผนยกระดับเป็น แบงก์พาณิชย์ของฟินันซ่ากับบีฟิทล่ม เหตุทำผิดกฎ
ขายหุ้นก่อนเกณฑ์ตั้งแบงก์พาณิชย์ โดยรมต.คลังลงนามวันที่ 23 ม.ค. ด้านรองผู้ว่าฯเผยมีสถาบันการเงิน
1 แห่งขอยกระดับอย่างเป็นทางการแล้ว ด้านเอบีเอ็น แอมโร เข้าพบ รมต.คลังวันนี้
ยืนยันถอนการลงทุน ในแบงก์เอเชีย "สุชาติ เชาว์วิศิษฐ" แย้มปีนี้มีสถาบันการเงินควบรวมไม่ต่ำกว่า
2 ดีล
(ผู้จัดการรายวัน 18 กุมภาพันธ์ 2547)