จุฬาไฮเทคหยุดการก่อสร้างรอผู้ชี้ชะตาใหม่
หลังจากสำนักงานทรัพย์สินจุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย ได้พิถีพิถันกับการคัดเลือกผู้มาดำเนินการโครงการจุฬาไฮเทค
สแควร์ ซึ่งเป็นโครงการนำร่องการจัดผลประโยชน์จากที่ดินของจุฬามานานหลายปี
จนพูดได้ว่าผ่านยุคทองไปอย่างน่าเสียดาย แต่ในที่สุดก็ได้บริษัทสยามเทคโนซิตี้
เป็นผู้ก่อสร้างและได้เปิดตัวบริษัทบริหารการขาย คือบริษัทเชสเตอร์ตันไทย
และบริษัทไทยชิมิสึเป็นผู้รับเหมาก่อสร้าง อย่างเป็นทางการเมื่อต้นปี 2539
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2540)
"จุฬาลิเนท ห้องสมุดอิเลคทรอนิคส์ แห่งแรกในประเทศไทย"
และแล้วจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยก็ประสบความสำเร็จในการเชื่อมโยงข้อมูลที่กระจัดการจายตามห้องสมุดคณะ
หรือสถาบันวิจัยต่างๆ รวมกว่า 20 แห่ง หลังจากใช้เวลาดำเนินการมากว่า 5 ปีที่ผ่านมา
ภายใต้โครงการที่ชื่อ "จุฬาลิเนท (CHULALINET)"
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2536)
จีบ้า (GRADUATED INSTITUTE OF BUSINESS ADMINISTRATION)
บนชั้นห้าของโรงแรมสากลเก่าซึ่งปัจจุบันนี้กลายเป็นสถาบันพัฒนบริหารศาสตร์ ซึ่งเป็นโครงการร่วมของจุฬากับมหาวิทยาลัยต่างประเทศสองแห่งคือ J.L. KELLOGG CRADUATE SCHOOL OF MANAGEMENT OF NORTH WESTERN UNIVERSITY กับ THE WHARTON SCHOOL OF THE UNIVERSITY OF PENNSYLVANIA
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2527)
Mocumentary 3,000 บาทของ ikea
การเปิดสาขาของ ikea ในประเทศไทย ช่วงปลายปีนี้ คือสัญญาณการแข่งขันในธุรกิจศูนย์สินค้าตกแต่งบ้านที่เริ่มต้นขึ้นอีกครั้ง ทั้งผู้บริโภคและคู่แข่งในธุรกิจนี้ต่างก็จับตามองว่าจะเข้ามาเปิดตลาดในไทยได้อย่างไร และด้วยวิธีการใด อย่างน้อยผู้บริโภคก็จะได้เตรียมตัวซื้อ ส่วนคู่แข่งก็เตรียมตัวรับมือ
( 10 พฤษภาคม 2554)
จากสลัม สู่เซ็นเตอร์ของวัยโจ๋
2505-2506 สภาพดั้งเดิมของที่ดินบริเวณสยามสแควร์ในปัจจุบัน เป็นแหล่งชุมชนแออัด มีหนองบึงไว้สำหรับเลี้ยงเป็ด กระทั่งปี 2505 มีเหตุเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ทำลายชุมชนนี้อย่างราบเรียบ ทำให้เจ้าของที่ดิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมีพลเอก ประภาส จารุเสถียร รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย และในฐานะอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในขณะนั้น มีแผนที่จะพัฒนาผืนดินบริเวณใหม่ ให้เป็นแหล่งค้าขาย เพื่อป้องกันการบุกรุกที่ดินของชุมชนแออัด
(Positioning Magazine ตุลาคม 2550)
ทศวรรษใหม่... สยามสแควร์
“สยามสแควร์” ได้ชื่อว่าเป็นศูนย์กลางของวัยรุ่น และมีเสน่ห์ที่สุด ด้วยการผสมผสานของธุรกิจอันหลากหลาย มีทั้งโลกของแฟชั่น อาหาร พื้นที่โฆษณา โรงเรียนกวดวิชา สังคมเด็กแนว หรือในแวดวงทางการธุรกิจการตลาด ที่นี่คือสนามทดลองสินค้า และกิจกรรมการตลาดสุดมันส์ ล้วนเป็นภาพลักษณ์ที่ยังเจิดจ้าในวิถีคนเมืองอย่างไม่เสื่อมคลาย
(Positioning Magazine ตุลาคม 2550)
จุฬาฯ ควัก 1.7 ล้าน ฟื้นโครงการไฮเทครับแนวรถไฟใต้ดิน
จุฬาฯ ควักกระเป๋า 2,700 ล้านบาท ปรับแผนฟื้นตึกจุฬาฯ ไฮเทคใหม่ หลังจากยืดเยื้อมากว่า 10 ปี เล็งผุดอาคารสำนักงาน เซอร์วิสอพาร์ตเมนต์ รับแนวรถไฟฟ้าใต้ดิน พร้อมเดินหน้าตามแผนพัฒนา 20 ปี สร้างคอมเพล็กซ์ สยามสแควร์ ตลาดสามย่านและเจริญผล
(ผู้จัดการรายวัน 30 มกราคม 2549)
นสพ.ผู้จัดการร่วมสนับสนุนMoot Bizชิงชนะเลิศ8-9เม.ย.
หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ จับมือจุฬาฯ และสสว. จัดการประกวดแผนธุรกิจใหม่แห่งชาติ (Moot Biz) เป็นครั้งแรกในประเทศไทย ชิงชนะเลิศรางวัลพระราชทาน สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และเงินรางวัลกว่า 1 แสนบาท พร้อมเชิญชวนประชาชนร่วมลุ้นแผนธุรกิจและชุมผลิตภัณฑ์นวัตกรรมใหม่ 8-9 เม.ย. นี้ ณ ศูนย์สิริกิติ์
(ผู้จัดการรายวัน 4 เมษายน 2548)
น้ำมันแพงกระทบต้นทุนจัดสรร
วงการก่อสร้างหวั่น ต้นทุนน้ำมัน-เหล็ก ปัจจัยกระทบอัตราการเติบโตภาคธุรกิจก่อสร้าง
นายกฯ อุตสาหกรรมก่อ สร้างชี้ วิกฤตเหล็กยังไม่คลายปัญหาลง พร้อมผลพวงของต้นทุน
ค่าขนส่งจากราคาน้ำมันเพิ่ม นักวิชาการ-ผู้ประกอบการ ชี้มีผลต่อต้นทุนก่อสร้างอย่างน้อย
10%
(ผู้จัดการรายวัน 7 เมษายน 2547)
ค้านสร้างโมโนเรลจุฬา เลือดสีชมพูค้านกันเอง
แผนสร้างโมโนเรลสาย จุฬา-สยาม เจออุปสรรค อาจารย์จุฬาฯแบ่ง2ฝ่าย อ้างโมโนเรล เฟส1 บดบังทัศนียภาพ แนะควรสร้างเฟส 3 ก่อน “มานพ พงศทัต” ที่ปรึกษาจุฬา ฉะ ควรปลี่ยนความคิดใหม่ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน ชี้ควรทำเพื่อสังคมเพื่อคนกรุง ด้านกทม.ยันเดินหน้าสร้างเฟส1
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 10 ตุลาคม 2553)
“จุฬาฯ” หักเหลี่ยมโหด เบื้องหลังปฏิบัติการเซ็งลี้แสนล้าน
เปิดเคล็ดลับดีลสัญญาเช่าใหญ่ที่สุดในไทยระหว่างจุฬาฯ กับมาบุญครอง ดำเนินการอย่างไรจึงปั่นเม็ดเงินได้มากมายเพียงนี้ เซนเตอร์ พอยต์ แหล่งดูดเงินจากผู้พัฒนาหน้าใหม่ ที่ทุกค่ายพร้อมทำสัญญาเช่า 15 ปี มูลค่าแพงที่สุดในเมืองไทย จับตาแผนพัฒนาที่ดินรอบใหม่ อาคารพาณิชย์ตรงไหนจะได้รับผลกระทบ บรรทัดทอง เชียงกง สามย่าน ใครโดนก่อน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 13 สิงหาคม 2550)
จับเทรนด์เอ็มบีเอ 2006 ผ่านสายตา 6 สถาบันดัง
"ผู้จัดการรายสัปดาห์" ฉบับนี้ ถือฤกษ์สวัสดีปีใหม่ ชวนจับเข่าคุยกับ 6 สถาบันดังถึงทิศทางของตลาดการศึกษาระดับปริญญาขั้นสูงด้านบริหารธุรกิจที่จะเกิดขึ้น ตลาดเอ็มบีเอในปี 2549 จากความเห็นของทั้ง 6 สถาบัน ซึ่งประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (เอแบค) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ยังคงสะท้อนให้เห็นดีกรีความร้อนแรงที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นทุกปี
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 9 มกราคม 2549)
“จุฬา ฯ” เดินหน้าสานต่อธุรกิจฮาลาล
การจัดงานประชุมวิชาการนานาชาติ “WHASIB 2010 & IMT-GT Phuket Halal Expo 2010” ที่จะจัดขึ้น ระหว่างวันที่ 18 –20 มิถุนายน 2553 ณ โรงแรม JW Marriott Phuket Resort & Spa, และสะพานหิน จ.ภูเก็ต
(เอ็กซ์โปลิงค์ โกลบอล เน็ทเวอร์ค 16 มิถุนายน 2553)