"คราวเคราะห์ของ 'ชุมพล พรประภา' งานนี้ยามาฮ่าหัวเราะคนเดียว"
แล้ว "ซูซูกิ" ก็แพ้ภัยตัวเองทั้ง ๆ ที่ทนอุตส่าห์ขับเคี่ยวกับคู่แข่งที่สูสีอย่างยามาฮ่ามานานหลายปี ในสมรภูมิรถจักรยานยนต์ไทย ตลาดรถจักรยานยนต์ของไทยมาถึงวันนี้ ค่อนข้างจะแน่นอนว่าฮอนด้าได้ครองอันดับหนึ่งอย่างมั่นคง อย่างน้อยก็อีกหลายปีข้างหน้า ซึ่งถ้าไม่มีอะไรพลิกผันอย่างถล่มทลาย คงยากที่ซูซูกิและยามาฮ่าจะขึ้นมาเทียบเคียงรัศมีของฮอนด้า
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2539)
สยามยามาฮ่าจบแบบพี่น้อง ไม่เสียหายแต่ "เสียความรู้สึก"
ข่าวการประนีประนอมกันระหว่างกลุ่มเคพีเอ็นของเกษมและคุณหญิงพรทิพย์ ณรงค์เดช กับพรเทพ พรประภา ผู้บริหารของสยามกลการในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่สยามยามาฮ่าเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2538 ซึ่งมีนายชาตรี โสภณพนิช ประธานกรรมการธนาคารกรุงเทพจำกัด (มหาชน) เป็นผู้ไกล่เกลี่ย ผลลัพธ์ก็คือ กลุ่มเคพีเอ็นยอมตกลงซื้อหุ้นในบริษัท สยามยามาฮ่า จำนวน 67.78% จากสยามกลการ และ 16.09% จากดร.ถาวร พรประภา ในราคาร1,217 ล้านบาท และ 289 ล้านบาท ตามลำดับ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
เจ้าตลาดจักรยานยนต์คนใหม่ เกษม ณรงค์เดช
จักรยานยนต์ไทย ที่สี่ของโลก อุตสาหกรรมการผลิต และประกอบรถจักรยานยนต์ในประเทศไทย อาจกล่าวได้ว่าเข้มแข็งมากแห่งหนึ่งของโลกด้วยตลาดในประเทศที่มารองรับมากกว่าปีละหนึ่งล้านคัน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2538)
"ยามาฮ่า" ทุ่มงบ 1,500 ล.รุกแผนตลาด-เพิ่มผลิต
ค่าย "ยามาฮ่า" เผยกลยุทธ์ 3 ปี ทุ่มงบ 1,500 ล้านบาท รองรับแผนรุกตลาดต่อเนื่อง และเพิ่มกำลังการผลิตในไทย ดันยอดขาย 600,000 คัน ขยับส่วนแบ่งตลาดขึ้นอีกเท่าตัว จากปัจจุบันมีอยู่ 15% ขยายเป็น 30% มั่นใจรักษาตำแหน่งผู้นำจยย.เกียร์ออโตเมติก แม้คู่แข่งจะผลิตออกมาสู้ก็ตาม
(ผู้จัดการรายวัน 8 สิงหาคม 2548)