เฮือกสุดท้าย ดอนเมืองโทลล์เวย์ เข้าตลาดหุ้นหรือขายทิ้ง?
ในที่สุดสมบัติ พานิชชีวะก็ถึงกับพูดออกมาดัง ๆว่า อยากจะขายทิ้งโครงการดอนเมืองโทลล์เวย์ กับใครก็ได้ที่เสนอผลประโยชน์ตอบแทนที่น่าสนใจ ซึ่งอาจเป็นการพูดขึ้นด้วยอารมณ์ หรือแฝงด้วยเลศนัยที่หวังจะกระตุ้นให้คนเกิดความสนใจโครงการของตน อย่างไรก็ตามความอับจนของโครงการนี้ก็ยังฝากความหวังไว้ที่การเข้าตลาดหลักทรัพย์ แต่ในข้อเท็จจริงอนาคตจะเป็นเช่นไรเป็นเรื่องน่าหวั่นวิตกไม่น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2538)
ดอนเมืองโทลล์เวย์
เวลา 3 ปีที่ใช้ไปในการก่อสร้รางดอนเมืองโทลเวย์กับ 185 ครั้ง อุบัติภัยที่เกิดขึ้นนั้น
น่าจะปลุกจิตสำนึกผู้อยู่ในแวดวงได้แล้วว่า อันตรายจากงานก่อสร้างขนาดใหญ่นั้น
ไม่ใช่เรื่องเล็กๆ ที่จะขายผ้าเอาหน้ารอดไปได้วันๆ มิฉะนั้นเราคง จะได้เห็นอุบัติภัยดอนเมืองโทลล์เวย์รอง
2 ขึ้นอีกเป็นแน่แท้
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2538)
"ความเสี่ยงของดอนเมืองโทลล์เวย์"
"ดอนเมืองโทลล์เวย์" นับเป็นโครงการแก้ปัญหาจราจรที่ผ่านมรสุมมามากพอสมควร
นับแต่ปัญหาที่รัฐบาลอานันท์เสนอทางเลือกไม่ให้ทุบสะพานลอย 2 แห่งแต่โครงการหมื่นล้านนี้ก็ยังมีปัญหาความเสี่ยงหลายอย่าง พวกเขาจะแก้ปัญหากับความเสี่ยงเหล่านั้นอย่างไร ???"
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2535)