บุญญรักษ์ นิงสานนท์ ถึงเวลาเบนหัวเรือธนาคารออมสินสู่ปากอ่าว
วันอังคารที่ 2 กรกฎาคม 2539 ที่ผ่านมา ถือได้ว่าเป็นการเริ่มต้นแห่งมิติใหม่ของธนาคารออมสิน ธนาคารที่รับฝากเงินเริ่มต้นจาก 1 บาทแห่งเดียวของไทย เพราะเป็นวันเข้ารับตำแหน่งใหม่ของ ดร.บุญญรักษ์ นิงสานนท์ ผู้อำนวยการธนาคารออมสิน คนที่ 10 แต่เป็นผู้อำนวยการออมสินคนแรกที่มาจากคนนอก "
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2539)
ธนาคารออมสินบนเส้นทางสู่ธุรกิจแบงก์พาณิชย์
"จะช้าหรือเร็วเท่านั้น..เพราะมันเป็นชะตากรรมที่ออมสินในทุกประเทศทั่วโลกจะต้องเผชิญกับภาวะ
"เงินล้นเซฟ" ทันทีที่รัฐบาลประสบภาวะการเกินดุลงบประมาณซึ่งหากกล่าวว่าเป็นสิ่งที่ท้ายทายความสามารถของผู้บริหารในขณะนั้น
ๆ ด้วยก็คงไม่ผิด
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2536)
สลากออมสิน MANIA
"ธรรมดาเราออกสลากเป็นงวด งวดหนึ่งมี 33 หมวด อักษรไทย ตัวอ่านยากๆ
อย่าง ฆ ซ ญ…อะไรพวกนี้เราไม่ใช้ ก่อนที่มันจะบูมงวดหนึ่งๆ กว่าจะขายหมดใช้เวลาปีกว่า
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2530)
เจาะลึกโฆษณาแบงก์
เสียงเพลงหวานไพเราะจากน้ำเสียงของ พลพล พลกองเส็ง นักร้องแกรมมี่ “ชีวิตจะไม่เดือดร้อน ถ้าหากมีออม...มีออมไม่มีอด…” นำเรื่องไปสู่จุดจบที่งดงาม เมื่อกระปุกออมสินโผล่ขึ้นมา พร้อมกับวาระแห่งการออมใหม่ ซึ่งเป็นทฤษฎีในเรื่องการออมที่แตกต่างไปจากวิชาเศรษฐศาสตร์เดิมของจอห์น เมย์นาร์ด เคนส์
(Positioning Magazine ธันวาคม 2548)
ออมสินเดินหน้าดึงเงินฝาก ออก “GSB Life3” แบบรวด
ออมสินเดินหน้าระดมเงินฝากเปิดผลิตภัณฑ์เงินฝากสงเคราะห์ชีวิต 3 รูปแบบใหม่ให้เลือกออม ครอบคลุมทั้งการออมเงินระยะสั้น-ระยะยาว คุ้มครองชีวิตอย่างคุ้มค่าเงินฝาก และให้ผลตอบแทนสูงตลอดอายุกรมธรรม์
(ASTV ผู้จัดการรายวัน 19 พฤษภาคม 2553)
ออมสินตรึงดอกเบี้ยโวต้นทุนสลากต่ำกำไรทะลัก1.5 หมื่นล้าน
ออมสินตั้งเป้าปล่อยกู้ปีนี้ 7.8 หมื่นล้านบาท พร้อมตรึงดอกเบี้ยกู้นานสุด หวังช่วยลดภาระประชาชน โวต้นทุนต่ำหลังเงินฝากสลากทะลักแสนล้าน ส่วนปี 52 โกยกำไรพุ่ง 1.5 หมื่นล้านบาท ด้าน ธอส.ประกาศลดดอกเบี้ยเงินฝากลงอีก 0.25 - 0.50%
(ASTV ผู้จัดการรายวัน 10 กุมภาพันธ์ 2553)
ออมสินโชว์กำไรครึ่งปี7.6พันล.
ผลประกอบการครึ่งปีแรก 52 ธนาคารออมสินมีกำไรสุทธิ 7,600 ล้าน มาจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณสินเชื่อและค่าธรรมเนียมจากการบริการ ส่วนยอดหนี้ NPL ลดลงเหลือ 3.4% ผอ.ออมสิน เผยแผนครึ่งปีหลังเน้นการออม และกระตุ้นเศรษฐกิจฐานรากและผู้ประกอบการรายย่อย ควบคู่กับการพัฒนาระบบ Core Bankin
(ASTVผู้จัดการรายวัน 27 กรกฎาคม 2552)
แปลงโฉม"ออมสิน"แค่จุดเริ่มต้นการเปิดศึกสร้างนักรบเกราะ"ทอง-ชมพู"ลงสู่สนามรบ
ในบรรดาสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ "ออมสิน"จัดเป็นแบงก์ที่เห็นการเปลี่ยนแปลงชัดเจนมากสุด เพราะแทบไม่เหลือภาพลักษณ์เก่าให้จดจำ แต่การปรับโฉมที่บรรจงสร้างขึ้นใหม่เป็นเพียงจุดเริ่มต้นของศึกในสนามรบธุรกิจการเงิน การเปลี่ยนแปลงครั้งนั้นจึงมิได้สั่นสะเทือนต่อสถาบันการเงินอื่นให้รู้สึกยำเกรงมากนัก ที่เป็นเช่นนั้นเพราะ กองทัพเกราะ "ทอง-ชมพู"ยังไม่แกร่งพอรับศึกรบเต็มกำลัง ทำให้ "ออมสิน" ต้องใช้เวลาสร้างทัพใหญ่ให้มีกำลังที่แข็งแกร่งก่อนออกรบศึกจริง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 กุมภาพันธ์ 2550)
เศรษฐกิจซบเซาแต่ภาคการเงินไม่เซื่องซึมสมรภูมิช่วงชิงฐานลูกค้ารายย่อยยังดุเดือด
เศรษฐกิจที่มีกลิ่นอายของความเซื่องซึมมิได้ลดอุณหภูมิการแข่งขันของภาคการเงินให้เย็นลงแต่ประการใด...ความร้อนแรงดุเดือดในการช่วงชิงส่วนแบ่งตลาดโดยเฉพาะฐานลูกค้ารายย่อยยังดำเนินต่อไปภายใต้โอกาสที่ไม่เอื้ออำนวยนัก แต่ถึงกระนั้นทุกสถาบันต่างไม่ยอมลดราวาศอกให้คู่แข่งเข้ามาช่วงชิงเค้กของตน....
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 กุมภาพันธ์ 2550)