"มิตซูบิชิ มอเตอร์ บุกไทย กลับเป็นชัยชนะของ"พรรณเชษฐ์"
การเข้ามาของมิตซูบิชิ มอเตอร์แห่งประเทศญี่ปุ่น ในการครอบงำกิจการของเอ็มเอ็มซี
สิทธิผลนั้น แม้จะยังคลุมเครือในเรื่องของตัวเลขว่าสุดท้ายแล้วญี่ปุ่นจะถืออยู่เท่าไรและฝ่ายไทยจะเหลือไว้เท่าไร
แต่ขณะนี้ก็น่าจะได้บทสรุปว่า ไทยจะกลายเป็นฐานบัญชาการสำคัญของมิตซูบิชิ
มอเตอร์ ในระดับโลก ในอีกไม่กี่วันข้างหน้า
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2540)
"เอ็มเอ็มซี สิทธิผล สู่อนาคตที่ยังเลือนลาง แต่ยังต้องไป!"
เมื่อเอ็มเอ็มซี สิทธิผล ก้าวขึ้นเป็นฐานกรผลิตหลักของมิตซูบิชิ มอเตอร์ คอร์ป น่าสนใจว่า ทางเดินต่อจากนี้จะเป็นอย่างไร และแท้จริงแล้ว ญี่ปุ่นมองฐานการผลิตในไทยไว้ระดับใด ที่มั่นใจว่าจะผงาดขึ้นเป็นเบอร์หนึ่งของภูมิภาคนี้ได้นั้น ในชั้นนี้ จะฉกฉวยความได้เปรียบไว้ได้มากน้อยแค่ไหน ลำพังการส่งออกก็ใช่ว่าจะสำเร็จได้โดยง่าย ยิ่งสถานการณ์ของ มิตซูบิชิ ในไทยตกต่ำอย่างมากด้วยแล้ว การพลิกฟื้นสถานภาพจะทำได้หรือไม่เหล่านี้ วัชระ พรรณเชษฐ์ เตรียมแผนงานไว้มากทีเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2539)
KEIRETSU ของมิตซูบิชิกรุ๊ประบบพึ่งพาโดยไม่เป็นเจ้าของ
ในเมืองไทย เครื่องหมายการค้ารูป THREE DIAMOND ของมิตซูบิชิเป็น BRAND
IMAGE ที่แข็งแกร่งมาก โฆษณาก็คุ้นหูคุ้นตามาแสนนาน แต่การบริหารผลิตภัณฑ์ต่างก็มีบริษัทแยกกันเป็นเอกเทศตามประเภทธุรกิจคือ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)
"ฮุนได" เลือก "สิทธิผล" ลุยตลาดรถเล็กในไทย
ฮุนไดเลือกกลุ่มสิทธิผล "ร่วมทุน-ทำตลาดรถในไทย" เผยจุดแข็ง "วัชระ พรรณเชษฐ์" เอาแผนผลิตรถอีโคคาร์ ที่ปั้นมากับมือให้เป็นนโยบายรัฐบาลขายให้เกาหลีจนชนะ 2 คู่แข่ง คือธนบุรีประกอบรถยนต์และไซม์ ดาร์บี้ แต่ยังติดเรื่องสัดส่วนการถือหุ้นที่ทางฮุนไดยังไม่อยากผูกพันเต็มตัว ขอเวลาดูผลงาน 5 ปี
(ผู้จัดการรายวัน 24 มิถุนายน 2548)
มิตซูฯ รื้อใหญ่ระบบบริหาร
"มิตซูบิชิ" พลิกภาพลักษณ์ครั้งใหญ่ในไทย รื้อระบบบริหารใหม่ หมด กลางเดือนพ.ย.นี้ประกาศยุติบทบาท
เอ็มเอ็มซี สิทธิผล ตั้งบริษัทใหม่ มิตซูบิชิ มอเตอร์ ประเทศไทย ดูแลรถยนต์นั่งและกระบะแทน
พร้อมกับจัดตั้งอีกบริษัทดูแลรถบรรทุก แยกบริหารกันชัดเจน
(ผู้จัดการรายวัน 30 ตุลาคม 2546)