ต้องพึ่งหนังดิจิตอล 3D
เป็นเรื่องน่าปวดใจไม่น้อยสำหรับทั้งคนสร้างภาพยนตร์และเจ้าของโรงภาพยนตร์ที่มีพวก Prirate ตามหลอกหลอนมานาน รายได้ที่ควรจะได้เต็มเม็ดเต็มหน่วยกับเงินลงทุนนับสิบนับร้อยล้านบาท กลับต้องสูญเสียให้กับแผ่นผีที่ฉวยโอกาส รวมถึงมหกรรมโหลดบิทนานาชาติที่เฟื่องฟูพร้อมๆ กับไฮสปีดอินเทอร์เน็ต วันนี้อุตสาหกรรมภาพยนตร์และโรงภาพยนตร์มีทางออกที่ชัดเจน
(Positioning Magazine ตุลาคม 2552)
โรงหนังวิวทะเลแห่งแรกในไทย
ไอเดียจากพัทยาในวันวานที่มีหนังกลางแปลง ปูเสื่อริมชายหาด ถูกพัฒนาเป็นโรงหนังเอาต์ดอร์ที่หรูหราแห่งแรกของประเทศไทย บนชั้น 7 ของ SFX Cinema สาขาเซ็นทรัล เฟสติวัล พัทยา บีช ภายใต้นาม The Porch (Pattaya’s Relaxing Outdoor CINEMA House)
(Positioning Magazine กรกฎาคม 2552)
แหล่งบันเทิงระดับพรีเมียมในเวียดนาม
เมืองไทยมีเมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ เวียดนามก็มี “เมกาสตาร์มีเดียซีนีเพล็กซ์” (Megastar Media Cineplex) โรงภาพยนตร์ระดับพรีเมียมเอาใจคอบันเทิงชาวเวียดนาม กำลังเป็นธุรกิจน้องใหม่ที่กำลังบูมอย่างรวดเร็ว
(Positioning Magazine ตุลาคม 2550)
จับหมูไฟมาทำหมูหัน
คัมภีร์จากตัวแทนธุรกิจด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจโรงภาพยนตร์เมเจอร์ กรุ๊ป ธุรกิจโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ และบริษัทมือถือยักษ์ใหญ่อย่าง AIS ซึ่งถือเป็นกรณีศึกษาที่ถูกนำมาถ่ายทอดในงานสัมมนา “จะหามหมูไฟมาใส่อวยด้วยวิธีใด?” ซึ่งจัดโดยสมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย ทำให้หลายคนเกิดกำลังใจและทัศนคติในทางบวกต่อสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน
(Positioning Magazine พฤษภาคม 2550)
ไมล์ความสุข สนุกบนไซเบอร์
ดูหนังแล้วได้ท่องอินเทอร์เน็ต และใช้โทรมือถือฟรี เป็นแคมเปญล่าสุด ที่เกิดจากความร่วมมือระหว่าง 2 ค่ายธุรกิจ “ EGV และ True” ใช้ชื่อแคมเปญว่า “ EGV Cyber Passport by True” มุ่งไปยังกลุ่มเป้าหมายวัยรุ่นยุคโลกไซเบอร์ที่ขึ้นชื่อว่าเป็นฐานกลุ่มใหญ่ในธุรกิจเอนเตอร์เทนเมนต์
(Positioning Magazine ตุลาคม 2549)
ดูหนัง...แจกซิม
ขึ้นชื่อว่าเบอร์ 2 ที่ส่วนแบ่งตลาดโรงภาพยนตร์ยังทิ้งห่างหลายขุมจาก ผู้นำตลาด “เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์” ก็ยิ่งต้องทำการบ้าน และเปิดเกมรุกการตลาดหนักขึ้น ล่าสุดค่าย “SF Cinema” เขย่าตลาดอีกครั้ง กับ “ ดีแทค” พันธมิตรเก่าแก่ เบอร์ 2 ในตลาดมือถือเช่นกัน ในแคมเปญ “SF Happpy Movie Sim”
(Positioning Magazine สิงหาคม 2549)
วิชา พูลวรลักษณ์ Big Man…Big Theatre !
แวดวงธุรกิจบันเทิง น้อยคนนักที่ไม่รู้จัก “วิชา พูลวรลักษณ์” นักบริหารธุรกิจโรงภาพยนตร์ชื่อดังที่หลายคนคุ้นเคยมาเป็นอย่างดี ในนามเครือ “เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์” ในฐานะผู้บุกเบิก สร้างเมืองหนังขึ้นเป็นครั้งแรกของเมืองไทย ในรูปแบบ Stand Alone Complex ที่เขย่าธุรกิจโรงหนังไทยให้สั่นสะเทือนมาแล้ว
(Positioning Magazine กรกฎาคม 2549)
กรุงศรี สามมิติ
“Naming Sponsor โรงภาพยนตร์ กรุงศรี ไอแมกซ์ จัดเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่ทำขึ้นเพื่อมุ่งตอบโจทย์แนวคิดทางการตลาด Entertainment Banking ของแบงก์กรุงศรี” ชาลอต โทณวณิก ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส แบงก์กรุงศรีอยุธยา บอกกับผู้สื่อข่าวสายธุรกิจและบันเทิง ที่เข้าร่วมในวันที่แถลงข่าวเปิดตัวโรงภาพยนตร์ กรุงศรีไอแมกซ์ ร่วมกับพันธมิตรค่ายเมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ ที่สยามพารากอน
(Positioning Magazine กรกฎาคม 2549)
Major Cash Card CRM เคลียร์ใจ
เมเจอร์ ซีเนเพล็กซ์ หวังลบคำครหาผู้บริโภค สร้างปรากฏการณ์เคลียร์ใจด้วย Forward CRM ใหม่ “Major Cash Card” โดยโละบัตร M-Club หลังเปิดตัวมาได้ไม่นาน หวังกระตุ้นให้นักดูหนังเพิ่มความถี่ในการชมภาพยนตร์ให้มากขึ้นจากเดิม 1-2 เรื่อง/เดือน เป็น 2-4 เรื่อง/เดือน ด้วยงบโปรโมต 30 ล้านบาท คาดยอดขายบัตรปีแรกนี้ 300 ล้านบาท
(Positioning Magazine เมษายน 2549)
กฤษณัน งามผาติพงศ์ ซีอีโอ เมเจอร์ ยุคบุกด้วยไอที
การแถลงข่าวเปิดตัวผู้บริหารใหม่ของบริษัท เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ้ป จำกัด (มหาชน) ของ "วิชา พูลวรลักษณ์" ประธานกรรมการบริหาร ไม่ได้สร้างความเซอร์ไพรส์ ให้กับวงการธุรกิจบันเทิงเท่าไรนัก เพราะเมื่อปลายปี 2548 เมเจอร์ได้ประกาศแต่งตั้ง "กฤษณัน งามผาติพงศ์" เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หรือซีอีโอให้รับทราบทั่วกันแล้ว
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2549)