สมรภูมิเมนูหมื่นล้าน
มูลค่าตลาดร้านอาหารญี่ปุ่นในปี 2553 ประมาณ 8,000 ล้านบาท ปี 2554 คาดสูงถึง 10,000 ล้านบาท โดยกลุ่มไฮเอนด์มีประมาณ 20% เป็นกลุ่มเฉพาะ และกลุ่ม Mass 80% ซึ่งแน่นอนตลาดอาหารญี่ปุ่นที่กำลังเติบโตขณะนี้ขับเคลื่อนโดยกลุ่ม Mass
( 10 พฤษภาคม 2554)
Key Success : จุดเปลี่ยน "อาหารญี่ปุ่น" ถูกใจ Mass
อาหารญี่ปุ่น คืออาหารต่างชาติที่คนไทยนิยมเป็นอันดับ 1 เบียดแซงอาหารชาติอื่น ปัจจุบันได้กลายเป็นเมนูที่กลุ่ม Mass เข้าถึงอยู่ตามห้างสรรพสินค้า ดิสเคาน์สโตร์ หรือแม้แต่ริมทาง ซึ่งไม่ได้เกิดขึ้นเพียงชั่วข้ามคืน แต่เป็นเพราะพฤติกรรมคนเปลี่ยน เทรนด์ของรสชาติอาหาร และกลยุทธ์ธุรกิจ เป็นส่วนผสมที่พาให้อาหารญี่ปุ่นมาถึงจุดนี้
( 10 พฤษภาคม 2554)
Transparency Marketing พลิกวิกฤตอาหารญี่ปุ่น เมื่อจุดแข็งกลายเป็นจุดอ่อน
หลังจากญี่ปุ่นเจอปัญหาสารกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ปนเปื้อนในอาหารหลังแผ่นดินไหวรุนแรง หลายแบรนด์ในไทยจึงเจอกับคำถามว่า "กินอาหารญี่ปุ่นได้หรือ... ไม่กลัวรังสีหรือ" มีกรณีศึกษาจาก 2 แบรนด์ยักษ์มาย้ำให้เห็นว่าเมื่อวิกฤตเกิดขึ้น โดยเฉพาะธุรกิจอาหาร ที่เกี่ยวกับสุขภาพของผู้บริโภค การตลาดบนความ "โปร่งใส" (Transparency Marketing) คือคำตอบที่ดีที่สุด
( 10 พฤษภาคม 2554)
2 ต้นตำรับมาแรง หมดยุคฟิวชั่นฟู้ด
ความเป็นต้นตำรับหรือ Authenticity จึงเป็นสิ่งที่คนยุคนี้โหยหา ท่ามกลางสารพัดสิ่งปรุงแต่ง สุดท้ายการ Back to basic กลับมีคุณค่ามากกว่า ต้นตำรับหาทานได้ยาก แต่ไม่ได้หมายความว่าจะต้องปรุงแต่งสวยงามมากมายอะไร เพราะอีกความต้องการหนึ่งของผู้บริโภคคือมองหาอะไรที่เรียบง่ายแต่มีคุณภาพ
(Positioning Magazine ธันวาคม 2552)
I feel “So Good”
ฉบับนี้มาว่ากันต่อกับน้ำนมถั่วเหลืองอีกแบรนด์ของบริษัท Soyaworld Inc. คือ แบรนด์ So Good เครื่องดื่มน้ำนมถั่วเหลืองที่ขายดีที่สุดเป็นอันดับหนึ่งในแคนาดา
(Positioning Magazine สิงหาคม 2550)
So Nice, A Symbol of a Better Organic World
Soyaworld Inc. บริษัทผู้ผลิตเครื่องดื่มน้ำนมถั่วเหลืองที่ใหญ่ที่สุดในแคนาดา ซึ่งมีส่วนแบ่งทางการตลาดของเครื่องดื่มน้ำนมถั่วเหลืองมากกว่า 60% Soyaworld Inc. มีสินค้าสามแบรนด์หลัก คือ So Nice, So Good และ Sunrise ที่เน้นกลุ่มเป้าหมายต่างกัน
(Positioning Magazine กรกฎาคม 2550)