ห้างยุคนี้ ไซส์เล็ก แต่แรง
นอกเหนือจากคอนวีเนียนสโตร์อย่าง 7-Eleven ที่ติดลมบนแล้ว ปี 2554 น่าจะเป็นปีทองของค้าปลีกไซส์เล็กอย่างแท้จริง เพราะไม่ติดปัญหากฎหมายค้าปลีก ขณะเดียวกันแนวโน้มผู้บริโภคนิยมความสะดวกจากร้านค้าปลีกมากกว่า
(Positioning Magazine ธันวาคม 2553)
ทำไม คาร์ฟูร์ ต้องขายกิจการ
ทศวรรษที่ผ่านมาคาร์ฟูร์ไม่อาจฉีกตัวเองให้โดดเด่นจากคู่แข่งที่แข็งแกร่งได้ คาร์ฟูร์เป็นไฮเปอร์มาร์เก็ตที่มีการขยายสาขาช้าที่สุดในบรรดาผู้เล่นทั้งหมด แม้จะเข้ามาดำเนินการเป็นรายที่ 2 ต่อจากบิ๊กซีก็ตาม ปัจจุบันมีจำนวนสาขารั้งท้าย ปล่อยให้ผู้เล่นอย่างเทสโก้ โลตัส ที่เข้ามาเป็นรายที่ 3 เร่งสปีดขึ้นแท่นเป็นเบอร์ 1 อย่างเบ็ดเสร็จ
(Positioning Magazine สิงหาคม 2553)
จับตา “เบอร์ลี่ยุคเกอร์” เจ้าของ คาร์ฟูร์ รายต่อไป ?
เมื่อกลุ่มทุนค้าปลีกจากฝรั่งเศสเกิดอาการถอดใจ จึงประกาศขายกิจการ “คาร์ฟูร์” ทั้งในไทย มาเลเซีย และสิงคโปร์ ให้กับผู้ที่สนใจ ซึ่งเบอร์ลี่ยุคเกอร์เป็น 1 ในกลุ่มทุนที่ได้รับการติดต่อให้เข้าร่วมประมูลในครั้งนี้ โดยทางบีเจซีเปิดเผยว่า กำลังมองธุรกิจปลายน้ำแบบค้าปลีก เพื่อเข้ามาเติมเต็มธุรกิจให้สมบูรณ์มากขึ้น
(Positioning Magazine สิงหาคม 2553)
My Cube
มายคิวบ์ ไอเดียร้านขายสินค้าแนวใหม่ที่ออกแบบจัดร้านโดยการแบ่งพื้นที่เป็น Cube หรือช่องเล็กๆ กว่าสามร้อยช่อง กระจายทั่วร้าน เป็นที่วางขายสินค้า ซึ่งทำหน้าที่เหมือนร้านเล็กๆ ที่ตั้งอยู่ภายในร้านใหญ่
(Positioning Magazine สิงหาคม 2553)
ช้อปออนไลน์กับวอลมาร์ท
ธุรกิจค้าปลีกที่แข่งขันกันเปิดสาขาใหม่เพื่อดึงลูกค้าให้ได้ครอบคลุมทุกพื้นที่ แต่อีกกลยุทธ์หนึ่งที่ไม่สามารถละเลยได้คือช่องทางออนไลน์ เหมือนอย่างที่ "วอลมาร์ท" ค้าปลีกรายใหญ่ของสหรัฐอเมริกา ที่เร่งเครื่องเปิดช่องทางขายทางออนไลน์ ปลุกชีพอีคอมเมิร์ซให้ฟื้นมาอีกครั้ง
(Positioning Magazine มีนาคม 2553)
ASTV The Loyalty Network
ไม่มีอยู่ในตำราเล่มไหน หรือทฤษฎีการตลาดข้อไหน เมื่อเจ้าของสื่อสถานี ASTV ได้กลายเป็นเจ้าของ “เครือข่ายการค้า” ภายใต้แบรนด์ เอเอสทีวี เป็นการตลาดรูปแบบใหม่ที่ไม่เหมือนใคร เพราะเกิดจากความลอยัลตี้อันเหนียวแน่นของคนดูและสื่อร่วมอุดมการณ์ทางการเมือง และเป็นสัญลักษณ์ของการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย ก่อเกิดแฟนพันธุ์แท้กระจายอยู่ทั่วประเทศเป็นฐานลูกค้าชั้นดีให้กับสินค้าเอเอสทีวี ที่วันนี้ได้แตกขยายไลน์สินค้าและช่องทางจำหน่าย กลายเครือข่ายการค้ามาแรงที่สุดเวลานี้
(Positioning Magazine มกราคม 2553)
ต้องดังทั้งในและนอก
เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล การทุ่มงบ 90 ล้านบาทเพื่อปั้น Own Brand แสดงให้เห็นชัดว่า CFR ไม่ได้มองว่าสินค้ากลุ่มนี้เป็นเพียง Own Brand ที่จะดังอยู่เฉพาะในช่องทางจำหน่ายของตัวเองที่มีอยู่ 117 แห่งเท่านั้น หากแต่รวมถึงการส่งออกไปโกยเม็ดเงินจากต่างแดนด้วย ตามแบบโมเดลที่ไฮเปอร์มาร์เก็ตต่างแดนนิยมทำ
(Positioning Magazine ธันวาคม 2552)
คลับการ์ดครองเมือง
บัตรสมาชิก หรือคลับการ์ด กำลังถูกใช้เป็น “อาวุธ”การตลาดชั้นดี ที่ถูกบรรจุอยู่ในแผนการสู้รบ เพื่อรักษาฐานที่มั่นในธุรกิจ และครองใจฐานลูกค้า ยิ่ง Trend Area ใกล้กันชนิดแทบหายใจรดต้นคอ แถมเศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลให้พฤติกรรมผู้บริโภคส่วนใหญ่กลายเป็น Price Sensitive เลือกซื้อสินค้าตาม “โปรโมชั่น” ไร้ความจงรักภักดี ไม่ยึดติดกับแบรนด์ใดแบรนด์หนึ่ง ที่ไหนราคาถูกกว่าหมายถึงข้อเสนอที่ดีกว่า
(Positioning Magazine ธันวาคม 2552)
คาร์ฟูร์ เต้นไปช้อปไป
ถ้าผ่านไปห้างสรรพสินค้า “คาร์ฟูร์” อย่าได้แปลกใจหากเจอพนักงานเต้นระบำอย่างสนุกสนาน เพราะเป็นกิจกรรมส่งเสริมการตลาดคาร์ฟูร์ฉลองครบรอบปีที่ 13 ในไทยเมื่อเดือนมีนาคม 2552 ที่ผ่านมา ตามสโลแกน “We are happy serve you”
(Positioning Magazine ตุลาคม 2552)
กระจายข่าว “ซีพีออลล์”
แม้จะเป็นสินค้าบริโภค ซีพีออลล์กลับเป็นองค์กรธุรกิจกลุ่มแรกๆ ของไทยที่ใช้ Twitter เป็นเครื่องมือเผยแพร่ข่าวต่อสื่อมวลชนมาได้พักใหญ่แล้ว เนื่องจากมีบริษัทในเครือกว่า 10 บริษัท ตั้งแต่ 7-Eleven, Booksmile, คัดสรร และเคาน์เตอร์เซอร์วิส
(Positioning Magazine กันยายน 2552)