Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article

industry
company
people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ272  
Positioning48  
ผู้จัดการรายวัน411  
ผู้จัดการรายสัปดาห์76  
PR News462  
Total 1193  

Listed Company
Manager Lists
 
Industry > Banking and Finance

Subcategories
Banking
Financing


Positioning Magazine (11 - 20 of 48 items)
ต้องชัดกว่านี้ “ถึงเวลาที่ธนาคารไทยพาณิชย์ต้องทำ “Brand Positioning” ให้ชัดเจนกว่าที่เป็นอยู่ ซึ่งดิฉันคิดว่ายังไม่ชัดเจนพอ” “กรรณิกา ชลิตอาภรณ์” กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารไทยพาณิชย์ ชี้แจงกับ POSITIONING ช่วงต้นเดือนมกราคม 2009 หลังจากที่ไทยพาณิชย์เพิ่งตกลงจ้างเอเยนซี่ระดับโลก คือ “บริษัทอินเตอร์แบรนด์” เป็นที่ปรึกษาในการสร้างแบรนด์(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2552)
ยูนิฟอร์มเติมพลังแบรนด์ หลังจากยกเครื่ององค์กรทั้งสถานะการเงิน และผลิตภัณฑ์ทางการเงินมาได้กว่า 1 ปี “ชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์” ประธานเจ้าหน้าที่บริหารธนาคารนครหลวงไทย (SCIB) ก็ประกาศว่าถึงเวลาแล้วที่ต้อง “สร้างแบรนด์” แม้จะช้ากว่าแบงก์ของไทยอีกหลายแห่ง แต่ “ชัยวัฒน์” บอกว่าไม่เป็นไร เพราะ “มาทีหลัง แต่ชัดกว่า” ด้วยการสตาร์ทเปลี่ยนลุคให้พนักงานผ่าน “ยูนิฟอร์ม” โดยลงทุนจ้างดีไซเนอร์ระดับแนวหน้าของเมืองไทยอย่าง “พิจิตรา บุณยรัตพันธุ์” มาออกแบบให้ จากชุดเดิมที่ออกแบบโดยบริษัทบูติค นิวซิตี้(Positioning Magazine มกราคม 2552)
เคแบงก์ ต่อเวลา ขยายอนาคต เวลาอีก 1-2 ชั่วโมง ยามนี้ก็มีค่า มีความหมายสำหรับเคแบงก์ เพราะตั้งแต่ตุลาคมที่ผ่านมา 250 สาขาในที่ชุมชนของเคแบงก์ได้ขยายเวลารับลูกค้า จากปิด 3 โมงครึ่ง วันจันทร์-พฤหัส ก็เปิดถึง 4โมงครึ่ง(Positioning Magazine ธันวาคม 2551)
ยังต้องออกแรง”ปั้น” “K Excellence” ของ”เคแบงก์” ผ่านหูผ่านตาลูกค้าแบงก์มาแล้ว 3 ปี แต่”ความแรง”ยังไม่เป็นที่พอใจของ”บัณฑูร ล่ำซำ” หรือคุณปั้นก่อนสิ้นปี 2551 แม้โลกกำลังวิกฤตจากเศรษฐกิจถดถอย การเมืองไทยที่เข้าถึงมุมอับ “บัณฑูร” จึงต้องออกมาเดี่ยวไมโครโฟนอีกครั้งและย้ำชัด ๆ ว่า”กสิกรไทยก็เหมือนธุรกิจทั้งหลาย ต้องดิ้นรน มีความแตกต่างให้อยู่ได้ในตลาด”(Positioning Magazine ธันวาคม 2551)
ธนาคารเอไอจี เพื่อรายย่อย ถึงกิจการต้องถูกขาย แต่ความเชื่อมั่นต้องมาก่อน เข้ารับตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ธนาคารเอไอจี เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) เพียงแค่ 3 เดือน แต่ ชาลี มาดาน ก็ต้องจัดแถลงข่าวถึง 2 ครั้ง และการแถลงข่าวทั้งสองครั้งก็เพื่อรับกับวิกฤตการณ์ที่สำนักงานใหญ่ AIG สหรัฐอเมริกา ที่ได้ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภคอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้(Positioning Magazine ตุลาคม 2551)
“ธนาคารฟอร์ติส” คว่ำ “กลุ่มเมืองไทย” สะดุ้ง เพียง 2 วัน หลัง “ธนาคาร ฟอร์ติส” แบงก์รายใหญ่แถบ “ยูโรโซน” ล้มคว่ำหัวคะมำ “กลุ่มเมืองไทย” อันประกอบด้วย เมืองไทยประกันชีวิต และ บมจ.เมืองไทยประกันภัย ก็เจอกับบททดสอบ น่าท้าทายของ “ซับไพรม์” ที่กำลังคุกคามไปทั่ว “ยุโรป”(Positioning Magazine ตุลาคม 2551)
แบงก์วูบ ติดล็อก “เลแมนฯ” ทันทีที่เลแมน บราเดอร์ส ประกาศ “ล้มละลาย” สถาบันการเงินของไทย โดยเฉพาะธนาคารพาณิชย์หลายแห่งถูกจับตามองว่าได้เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งใน “เงินหมุน” ให้กับเลแมนฯ และสถาบันการเงินอื่นๆ ในสหรัฐอเมริกาหรือไม่ และต่างเกรงว่าเงินนั้นจะ “ไม่หมุนกลับมา”(Positioning Magazine ตุลาคม 2551)
“ไทยพาณิชย์” ปล่อยกู้จ่ายหนี้เลแมนฯ ธนาคารไทยพาณิชย์ ชื่อย่อในตลาดหลักทรัพย์ว่า SCB นอกจากลงทุนหุ้นกู้กับเลแมนฯ และขายขาดทุนไปแล้ว ข้อตกลงที่เพิ่งตกลงสดๆ ร้อนๆ ก่อนหน้าที่เลแมนฯ จะประกาศล้มละลายไม่กี่เดือน คือการปล่อยกู้ให้บริษัทบริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จำกัด (มหาชน) หรือ GRAND ซึ่งเป็นหนึ่งในบริษัทของไทยที่บริษัทในกลุ่มเลแมนฯ ถือหุ้นใหญ่ถึง 43.32% โดยเงินกู้ก้อนนี้สูงถึง 6,000 ล้านบาท(Positioning Magazine ตุลาคม 2551)
“แบงก์ล้ม” วิกฤตที่ยังไม่มีบทสุดท้าย เมื่อวิกฤตซับไพรม์คายพิษ ฟองสบู่ก็แตกดังโพละ ตามมาด้วยการล้มครืนของสถาบันการเงินเก่าแก่ของอเมริกา Lehman Brothers และ Merrill Lynch รวมทั้ง AIG ยักษ์ใหญ่วงการประกันภัยซึ่งเป็นบริษัทแม่ของ AIA ที่คนไทยรู้จักกันดี จากนั้นก็มีข่าวธนาคารหลายแห่งย่ำแย่ตามกันมาเรื่อยๆ ทำให้ตลาดทั่วโลก “ตื่นตระหนก-ขวัญผวา” ว่ากำลังเดินหน้าเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำยิ่งใหญ่รุนแรงกว่าช่วงสงครามโลกครั้งไหนๆ(Positioning Magazine ตุลาคม 2551)
แบงก์กรุงศรีฯ ลุ้นจีอีอยู่หรือไป ธนาคารกรุงศรีอยุธยา เป็นอีก 1 ธนาคารที่ได้รับผลพวงโดยตรงจากวิกฤตสถาบันการเงินของสหรัฐฯ เพราะมีจีอีแคปิตอล อินเตอร์เนชั่นแนล โฮลดิ้ง คอร์ปอเรชั่น แบงก์ขนาดใหญ่ของสหรัฐอเมริกา ถือหุ้นถึง 32.93%(Positioning Magazine ตุลาคม 2551)

Page: 1 | 2 | 3 | 4 | 5





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us