คำ ผกา นักเขียนหญิงร้อนแรงแห่งยุคสมัย
เป็น 1 ในนามปากการ้อนๆ ของลักขณา ปันวิชัย หากพบเห็นเรื่องราวผ่านปลายปากกาของ ฮิมิโตะ ณ เกียวโต หรือ ปันคำ ณ ปันนา โปรดทราบไว้ด้วยว่า เธอคือคนเดียวกัน เธอจบการศึกษาภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และเป็นนักเรียนทุนรัฐบาลญี่ปุ่นร่ำเรียนปริญญาเอกด้านประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่เกียวโต
(Positioning Magazine ตุลาคม 2548)
ปราย พันแสง ตัวแทน “นักรัก”
เป็นนามปากกาที่ย่อมาจากนามปากกา “ทองปราย พันแสง” อีกต่อหนึ่ง เป็นชื่อที่ เสถียร จันทิมาธร บรรณาธิการนิตยสารมติชนสุดสัปดาห์เป็นคนตั้งให้เมื่อครั้งเขียนคอลัมน์ในหนังสือพิมพ์ เธอเป็นชาวนครราชสีมา เริ่มงานเขียนตั้งแต่สมัยมัธยมปลาย
(Positioning Magazine ตุลาคม 2548)
พลอย จริยะเวช จากนักแปลสู่....คอลัมนิสต์
คอลัมนิสต์ (หญิง) ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในยุคนี้ เจ้าของพ็อกเกตบุ๊กดังๆ หลายเล่ม รวมทั้งนิยายแปลต่างๆ และล่าสุดออกพ็อกเกตบุ๊กชื่อ “หวานจับใจ” หนังสือพิมพ์ Bangkok Post เคยนิยามงานเขียนของเธอว่าเป็น Informative Entertaining
(Positioning Magazine ตุลาคม 2548)
ปรัชญ์ รุจินารมย์ นักเขียนรุ่นเยาว์เด็กปั้นนานมี
เด็กหนุ่มอารมณ์ดีฉายานักเขียนแนวสืบสวนสอบสวนอายุน้อยที่สุดของเมืองไทย ที่กลายเป็นต้นแบบของนวนิยายแนวสืบสวนสวบสวนสำหรับเยาวชน...เด็กหนุ่มผู้นี้ อาจกล่าวได้ว่า นี่คือแรงบันดาลใจของ สำนักพิมพ์นานมี บุ๊คส์ ที่บรรเจิดขึ้นเพื่อสร้างโครงการปั้นนักเขียนแนวสืบสวนสอบสวนรุ่นใหม่ๆ เพิ่มมากขึ้นในวันนี้
(Positioning Magazine ตุลาคม 2548)
ดร.ป๊อป คลื่นลูกแรกในโลกไซเบอร์
ใช่ว่างานเขียนดีๆ ที่หาอ่านได้ในเว็บไซต์จะมีโอกาสได้ตีพิมพ์ หรือรวมเล่มให้ได้อ่านกันทุกเรื่อง ด้วยเหตุที่โลกไซเบอร์เปิดกว้างให้สามารถเข้ามาเขียนเรื่องราวต่างๆ ได้อย่างเสรี จนกลายเป็นคอมมูนิตี้ใหญ่ที่มีคอนเทนต์หลากหลาย ตั้งแต่บันทึก เรื่องสั้น นวนิยาย หรือแม้แต่เรื่องเล่าประสบการณ์ที่น่าสนใจ
(Positioning Magazine ตุลาคม 2548)
Dek-d ชุมนุมนักเขียนไซเบอร์
จากความด้านชอบเทคโนโลยี และใฝ่ฝันมีเว็บไซต์เป็นของตัวเอง เพื่อให้เป็นศูนย์กลางคอมมูนิตี้บนโลกไซเบอร์ระหว่างกลุ่มเพื่อนและเด็กนักเรียนวัยเดียวกัน ส่งผลให้เกิดเว็บไซต์ www.dek-d.com ที่พัฒนาขึ้นแบบง่ายๆ ตามความสามารถของเด็กในวัยนั้น ได้กลายเป็นสังคมไซเบอร์ขนาดใหญ่มีคนเข้าไปเยี่ยมชมเฉลี่ย 5-6 แสนครั้ง/เดือน
(Positioning Magazine ตุลาคม 2548)
The writer
บนปลายปากกา หรือแท่นพิมพ์ดีดของนักเขียนยุคเก่า กลาง และยุคใหม่ แม้จะมีบุคลิกแง่คิดที่นำเสนอแตกต่างกัน มีเงื่อนไขของบริบททางกาลเวลาต่างกัน
(Positioning Magazine ตุลาคม 2548)
ณ บ้านวรรณกรรม จากนิยายไทยคลาสสิกสู่การ์ตูนวัยใส
กว่า 15 ปีที่โลดแล่นในวงการสำนักพิมพ์ "ณ บ้านวรรณกรรม" ได้สร้างชื่อเป็นยอมรับจากบรรดาคอนักอ่าน นวนิยายไทยคลาสสิก ด้วยการผลิตงานออกสู่ตลาดนับ 100 เรื่อง มีนักเขียนชื่อดังระดับแนวหน้าของเมืองไทยหลายคน อาทิ พนมเทียน ทมยันตี โรสลาเรน ล้วนเป็นนักเขียนที่มีแฟนนักอ่านประจำอยู่เป็นจำนวนมาก
(Positioning Magazine ตุลาคม 2548)
ยิ่งอ่าน ยิ่งลึกล้ำ...ภูมิปัญญาผู้จัดการ
อำนาจการบริหารจัดการ...สุดยอดนักคิดกูรูระดับโลก...กระแสเศรษฐกิจแห่งทุนนิยม...ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์แห่งโลกตะวันตก ...นี่คือแบรนด์ที่บ่งบอกบุคลิกของความเป็น “สำนักพิมพ์ผู้จัดการ”
(Positioning Magazine ตุลาคม 2548)
มติชนบุ๊ค ยกเครื่องใหม่ ลุย Happy Book Day เอาใจตลาดเทรนดี้
ปีนี้ มติชน บุ๊ค เป็นสำนักพิมพ์ที่สร้างสีสัน และถูกกล่าวไม่น้อย หลังจากเปิดตัวพจนานุกรมเวอร์ชั่นมติชน ที่เน้นเนื้อหาสาระของศัพท์ใหม่ๆ ให้ทันสมัยมากขึ้น รวมทั้งศัพท์ที่ใช้ในภาษาข่าวอัดแน่นไว้ในเล่มขนาดกะทัดรัด จำนวน 1061 หน้า ที่สามารถปั๊มยอดขายในการพิมพ์ครั้งแรกอยางถล่มทลาย จนต้องพิมพ์ซ้ำหลายครั้ง
(Positioning Magazine ตุลาคม 2548)