Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article

industry
company
people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ248  
Positioning44  
ผู้จัดการรายวัน435  
ผู้จัดการรายสัปดาห์131  
PR News522  
Total 1249  

Listed Company
Manager Lists
 
Industry > Economics


Positioning Magazine (31 - 40 of 44 items)
ถอดรหัส ”เศรษฐกิจพอเพียง” “เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร ?” “ผลิตเพื่อส่งออกจะขัดกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงหรือไม่ ?” “ทำไม ? ภาคการเกษตรได้รับความสนใจในเรื่องการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้มากกว่าสาขาการผลิตอื่นๆ” “เศรษฐกิจพอเพียง ขัดต่อหลักการทางธุรกิจที่เน้นการหากำไรหรือไม่” “ใช้ชีวิตอย่างไรให้พอเพียง ?” “ต้องประหยัด ห้ามใช้เงิน หรือเปล่า ?”...(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2549)
รัฐบาล “สุรยุทธ์” ยึดหลัก “พอเพียง” ขับเคลื่อนประเทศ นับเป็นนโยบายที่แตกต่างสุดขั้วระหว่างนโยบายรัฐบาลยุคทักษิณ ชินวัตร ที่มุ่งเน้นการเติบโตของตัวเลขทางด้านเศรษฐกิจเป็นสำคัญ จนทำให้ประเทศต้องประสบกับวิกฤต ในขณะที่รัฐบาลในยุคของ “สุรยุทธ์ จุลานนท์” ได้หันมาประกาศยึดนำหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” มาใช้ในการขับเคลื่อนประเทศ ทั้งในภาคเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม นับเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทย(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2549)
“กลุ่มออมทรัพย์"สะสมแบบพอเพียง ระบบธนาคารพาณิชย์ เป็นระบบที่อยู่ในระบบทุนนิยมเต็มรูปแบบ แต่ว่ายังไม่สามารถตอบสนองปัญหาและพฤติกรรมการทำมาหากินของชาวบ้าน "รากแก้ว" ในชุมชนเล็กๆ เท่าที่ควร(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2549)
ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา “3 ห่วง 2 เงื่อนไข” ปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ตามกระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ถูกนำมาสานต่อจนสู่สังคมในวงกว้างยิ่งขึ้น โดยหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งรวมทั้งสำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือสภาพัฒน์ กับการดำเนินงานโดยดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ในฐานะประธานอนุกรรมการ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2549)
SWOT เศรษฐกิจพอเพียง แม้หลักการเศรษฐกิจพอเพียงถูกตีความและเข้าใจอย่างหลากหลายแง่มุม แต่สำหรับนักวิชาการ อาจารย์ที่ปรึกษาด้านการตลาดระดับแนวหน้า ได้ให้ข้อสรุป และวิเคราะห์หลักการฯอย่างน่าสนใจ(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2549)
โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ ถอดรหัสทิศเศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง จะขัดต่อระบบเศรษฐกิจเสรี และกลไกการตลาดหรือไม่ “โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์” ในฐานะคีย์แมนหลักด้านเศรษฐกิจ นั่งเก้าอี้รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม หัวใจของภาคการผลิตของประเทศ ในรัฐบาลเฉพาะกิจของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ฟันธงชัดเจนว่าไม่ขัด แต่ประเทศไทยต้องขอเวลาประชาคมโลกในการสำรวจตัวเอง เป็นเวลาที่ประเทศไทยต้อง ”ปรับทิศ” เพื่ออนาคตการเติบโตอย่างยั่งยืน เพราะตลอดเวลาที่ผ่านมาทิศที่ประเทศไทยเดินนั้นพิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า ”ผิดพลาด”(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2549)
ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม “สังคมอยู่เย็นเป็นสุข” หลังจากคลุกวงนอก บอกเล่าสังคมถึงสิ่งจำเป็นที่ต้องมีในสังคมคือ ”คุณธรรม” และการดำรงตนอย่างพอเพียงตามแนวพระราชดำรัส ”เศรษฐกิจพอเพียง” ที่สุดแล้ว “ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม” ก็ได้ร่วมกับคณะรัฐมนตรีชุดพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ในตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยเป็นกำลังหลักเพื่อขับเคลื่อนสังคมให้สอดคล้องกับหลักการเศรษฐกิจพอเพียงที่ว่า ” 3 ห่วง 2 เงื่อนไข”(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2549)
สนธิ ลิ้มทองกุล “คุณอยากจะซื้อรถเบนซ์สักคันนึง หรือว่าประมูลป้ายทะเบียนรถยนต์ราคาสัก 15 ล้าน 9 ล้าน คุณทำได้ แต่ต้องแน่ใจนะว่าเงินที่คุณเอาไปประมูล หรือซื้อรถราคาสิบๆ ล้านนั้น คุณไม่ได้เบียดเบียนฉ้อราษฎรบังหลวงเอามา”(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2549)
5 มุมมอง “พอเพียง” ศ. น.พ. เกษม วัฒนชัย ศ. น.พ. เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ได้ถ่ายทอดมุมมอง สะท้อนความเข้าใจของคำว่า “ปรัชญาความพอเพียง” ซึ่งสามารถนำไปปฏิบัติใช้ได้จริงในการดำเนินชีวิต การทำธุรกิจ และการนำไปใช้ในพัฒนาประเทศ โดยได้ตอบคำถาม กับนิตยสาร “POSITIONING” ในประเด็นที่น่าสนใจ ในช่วงปาฐกถาพิเศษใน งานสัมมนาสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2549 ซึ่งจัดขึ้นในหัวข้อ “เศรษฐกิจพอเพียง สู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข”(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2549)
จากคำสอน สู่โครงการพระราชดำริ คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (กปร) เป็นหน่วยงานแรกๆ ที่ถือกำเนิดขึ้นมา เพื่อตอบสนองแนวพระราชดำริ นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ พัฒนาโครงการต่างๆ เพื่อความกินดีอยู่ดีหรือพออยู่พอกิน ให้แก่ประชาชนในชนบทที่อยู่ห่างไกลทุรกันดารและยากจน(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2549)

Page: 1 | 2 | 3 | 4 | 5





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us