เดี่ยว 9 บทเรียนของโออิชิ
ความสัมพันธ์ระหว่าง ตัน และ โน้ส คู่หูต่างวัยที่มาบวกกัน จนสร้างปรากฏการณ์ "ดับเบิลแบรนด์" กำลังเป็นบทเรียนให้กับ "โออิชิ" ในฐานะสปอนเซอร์ให้กับเดี่ยว 9
(Positioning Magazine 10 กรกฎาคม 2554)
วัดพลัง โออิชิ VS อิชิตัน
จุดแข็งโออิชิ
พลังเครือข่าย
การมีเครือข่ายการจัดส่งและร้านค้าจำหน่ายเครื่องดื่มหลากหลายภายใต้บริษัทเดียวกันของไทยเบฟฯ ทำให้กระจายสินค้าได้กว้างและทั่วถึง และมีอำนาจต่อรองกับร้านค้าที่ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการผลักดันยอดขายโออิชิ
(Positioning Magazine 10 กรกฎาคม 2554)
โออิชิล้างภาพตัน
แม้ตันจะบอกอย่างไรก็ตาม ว่าอิชิตันคือชาเขียวแบรนด์ใหม่ในตลาดแต่สำหรับผู้บริหารโออิชิแล้ว อิชิตันและโออิชิเหมือนกันจนแทบแยกไม่ออก ไม่ว่าจะเป็นชื่อแบรนด์ที่อ่านออกเสียงใกล้เคียงกัน และรสชาติก็แทบไม่ต่างกัน ที่สำคัญ ภาพของตันที่ยังคงผูกติดกับโออิชิอย่างแนบแน่น
(Positioning Magazine 10 กรกฎาคม 2554)
โออิชิตัน ศึกแค้นสั่งฟ้าชาเขียว
การมีคู่แข่ง ถือว่าเป็นเรื่องปกติที่ทุกธุรกิจต้องเจอ แต่ไม่ใช่สำหรับกรณีของ "โออิชิ" และ "อิชิตัน"
(Positioning Magazine 10 กรกฎาคม 2554)
Transparency Marketing พลิกวิกฤตอาหารญี่ปุ่น เมื่อจุดแข็งกลายเป็นจุดอ่อน
หลังจากญี่ปุ่นเจอปัญหาสารกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ปนเปื้อนในอาหารหลังแผ่นดินไหวรุนแรง หลายแบรนด์ในไทยจึงเจอกับคำถามว่า "กินอาหารญี่ปุ่นได้หรือ... ไม่กลัวรังสีหรือ" มีกรณีศึกษาจาก 2 แบรนด์ยักษ์มาย้ำให้เห็นว่าเมื่อวิกฤตเกิดขึ้น โดยเฉพาะธุรกิจอาหาร ที่เกี่ยวกับสุขภาพของผู้บริโภค การตลาดบนความ "โปร่งใส" (Transparency Marketing) คือคำตอบที่ดีที่สุด
( 10 พฤษภาคม 2554)
OISHI แจกทอง แทนทัวร์ญี่ปุ่น
แผ่นดินไหว และสึนามิที่ญี่ปุ่น ก็ทำให้แคมเปญ “ไปแต่ตัว ทัวร์ยกแก๊ง ตอนสุด ๆ ทัวร์เลือกได้” ของโออิชิได้รับผลกระทบไปด้วย จนต้องมีการเพิ่มรางวัลพิเศษเข้ามาแทน และเลื่อนเวลาเดินทางไปญี่ปุ่นออกไปอีก
(Positioning Magazine 8 เมษายน 2554)
ดื่มแล้วขาว (อมชมพู) ใครไม่หนาวให้รู้ไป
“Skin Whitening Drink” กำลังเป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่นที่สุดของ Functional Drink เวลานี้ ยิ่งได้กระแส “ขาวอมชมพู” จากอะมิโน โอเค พลัส ไบร์ทเทน ก็ยิ่งทำให้เครื่องดื่มประเภทนี้ฮิตติดตลาด แม้จะมีเสียงวิพากษ์วิจารณ์ในเรื่องความไม่เหมาะสมจนกลายเป็นกระทู้ใน pantip.com
(Positioning Magazine 8 เมษายน 2554)
ตลาดนํ้าคิกขุ...ศึกช้างชนกระทิง
ตลาดชาพร้อมดื่มเปรี้ยงปร้างเมื่อ 6 ปีก่อน หลังโออิชิคว่ำยูนิฟไม่เป็นท่า จากผู้นำ เหลือส่วนแบ่งการตลาดเพียง 4% ในปัจจุบัน จากนั้นตลาดถึงจุดปลี่ยนอีกครั้ง เมื่ออยู่ๆ เพียวริคุ ชาขาวจากค่ายกระทิงแดง มาแรงแซงแบรนด์ชาเขียวอื่นๆ ขึ้นมารั้งตำแหน่งที่ 2 ได้สำเร็จ โดยมีเบื้องหลังสำคัญคือ “บรรจุภัณฑ์แบบขวด PET 350 มล.”
(Positioning Magazine 8 เมษายน 2554)
โออิชิตกมันไล่ล่าเพียวริคุ
ทันทีที่บริษัทไทยเบฟเวอร์เรจ วางตลาดชาเขียวผสมน้ำผลไม้ ภายใต้ชื่อ “โออิชิ ฟรุตโตะ" ในวันที่ 22 มีนาคมที่ผ่านมา โดยวางจำหน่ายที่แมคโครในขนาด 350 มล. ส่วนในเซเว่น อีเลฟเว่น วางจำหน่ายขนาด 500 มล. ก็เท่ากับว่าช้างกับกระทิงแดงไม่ยอมอยู่ร่วมป่าเดียวกันอีกต่อไป
(Positioning Magazine 23 มีนาคม 2554)
โออิชิในภาวะวิกฤต 2.0…เมื่อโฆษณาเหยียดสีผิวเป็นเหตุ
วิกฤติครั้งนี้กับอะมิโน ไบร์ทเทน ที่โปรโมทคุณสมบัติผลิตภัณฑ์ว่า "ขาวอมชมพู" กับก๊อปปี้ตลกร้ายในโบกี้ รถไฟฟ้าบีทีเอสที่ว่า "สำรองที่นั่งสำหรับ...คนขาว" กลายเป็นหลุมพรางที่ขุดดักตัวเองอย่างไม่น่าเชื่อ อาจด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ หรือทำการสื่อสารการตลาดโดยละเลยต่อประเด็นอ่อนไหวของสังคม จนกลายเป็นเรื่อง"โฆษณาเหยียดสีผิว" ขึ้นมา
(Positioning Magazine 25 กุมภาพันธ์ 2554)