AFTA Effect ฝันร้ายธุรกิจเบียร์
ท่ามกลางความหวังของหลายๆ ธุรกิจที่มีต่อ “เขตการค้าเสรีอาเซียน” หรือ “อาฟตา" มีผลต่อการเสริมสร้างการแข่งขันให้กับสินค้าอาเซียนในตลาดโลก และดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ แต่สำหรับธุรกิจเครื่องดื่มประเภท “เบียร์” แล้วนั้น เขตการค้าเสรีอาเซียนดูเหมือนว่ากำลังจะกลายเป็นฝันร้ายสำหรับพวกเขา
(Positioning Magazine มกราคม 2553)
ไทยเบฟ CSR รวมตัวเพื่อความคมชัด
นอกจากอาณาจักรของ บมจ.ไทยเบฟเวอเรจ (ไทยเบฟ) จะเป็นกิจการของผู้มีสินทรัพย์ติดโผของผู้ร่ำรวยที่สุดของไทย ถ้าจะนับจากเครือข่ายด้านความสัมพันธ์ดูบ้าง ไทยเบฟก็สามารถติดโผบริษัทที่มีคอนเนกชั่นติดอันดับท็อปไม่ต่างจากเรื่องสินทรัพย์
(Positioning Magazine กันยายน 2550)
ฐาปน สิริวัฒนภักดี…ต้องก้าวดั่งช้าง
ลูกชาย “หัวแก้วหัวแหวน” ของเจ้าสัวเจริญ สิริวัฒนภักดี แห่งอาณาจักรน้ำเมา ผู้ถูกจับวางตำแหน่งให้สืบทอดช่วงต่อธุรกิจจากผู้พ่อ ภายใต้ บริษัท ไทยเบฟเวอร์เรจส์ จำกัด (มหาชน) โดยมีเป้าหมายผงาดในตลาดโลก
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2548)
เมื่อช้างขอเริงระบำ
หากจะมีกิจกรรมทางการตลาดใดที่เบียร์ช้างทำแล้ว เกิดผลต่อภาพลักษณ์ของแบรนด์ โดยเฉพาะมีกลิ่นอายเกี่ยวเนื่องกับวัฒนธรรมไทย เห็นที เสี่ยเจริญ สิริวัฒนภักดี ต้องยอมทุ่มไม่อั้น เพราะยังไงแล้วเป้าหมายของเบียร์ช้างก็ยังอยากสื่อสารให้ผู้บริโภคจดจำว่าเป็นแบรนด์ของ “คนไทยหัวใจช้าง” อะไรทำนองนั้น
(Positioning Magazine ตุลาคม 2548)
โชคของช้าง
“ไม่มีอะไรที่ช้างทำไม่ได้” นั่นอาจเป็นคำกล่าวที่ดูโอ้อวดเกินไปนัก แต่เมื่อมองความสำเร็จของเบียร์ช้าง ในการก้าวขึ้นสู่ระดับโลกนาทีนี้ ชั่วโมงนี้ ใครๆ ก็ต้องรู้สึกอิจฉา โดยเฉพาะคู่แข่งสำคัญอย่างค่ายสิงห์
(Positioning Magazine กรกฎาคม 2548)
ฐาปน สิริวัฒนภักดี To be the Spectacular Warrior
เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2547 อาจไม่ใช่วันสำคัญสำหรับคนทั่วไป แต่กลับกลุ่มทุนยักษ์ใหญ่ของเมืองไทย “สิริวัฒนภักดี” เป็นก้าวอีกขั้นในการแผ่ขยายอาณาจักร ด้วยการสำแดงเดช เปิดตัวลูกชายคนโต (แต่เป็นลูกคนที่ 3 ใน 5 คนของเจ้าสัวเจริญ-คุณหญิงวรรณา) “ฐาปน สิริวัฒนภักดี”
(Positioning Magazine ธันวาคม 2547)