เมเจอร์ กับโมเดลโฆษณาแบบฟรีทีวี
เมื่อโลเกชั่นไม่สามารถสะท้อนถึงรสนิยมและไลฟ์สไตล์ที่แท้จริงของคนดูภาพยนตร์ กอปรกับไม่สามารถเก็บเกี่ยวรายได้จากโฆษณาอย่างเป็นกอบเป็นกำ เมเจอร์ฯ จึงเตรียมผุดโมเดลโฆษณารูปแบบใหม่ๆ คิดตามฟอร์มภาพยนตร์ ใหญ่ กลาง เล็ก เพื่อสร้างรายได้จากโฆษณามากขึ้น รวมถึงตอบโจทย์ลูกค้าได้ชัดเจนกว่าเดิม
(Positioning Magazine 13 กันยายน 2554)
ฉีกกฎ Facebook ด้วยแอพพลิเคชั่น Case : The Power of Crowd for Major Cineplex
วิกฤติของแบรนด์ เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ ที่ถูกวิจารณ์เรื่องราคาตั๋ว, วิธีการขายตั๋ว, ระยะเวลาโฆษณา ในเว็บไซต์ดังแห่งหนึ่ง บริษัท อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ ออนไลน์ จึงวางแผนสร้างวิธีการเล่นกับ M Generation ด้วยการทำแอพพลิเคชั่น คูปองเปล่า ที่ถ้าอยากได้ส่วนลดต้องเข้ามาช่วยกันคลิก ยิ่งคลิกมากก็ยิ่งลดราคามากขึ้น
(Positioning Magazine 10 สิงหาคม 2554)
โรงหนัง 4 มิติ Value Added ของเมเจอร์ฯ
หลังจากขยายโรงหนัง 3 มิติ เพื่อสร้างสีสันความแปลกใหม่ และขยายกลุ่มคนดู เมเจอร์ฯ รุกต่อด้วยโรงหนัง4มิติ หรือ 4DX ประเดิมโรงแรกในห้างสรรพสินค้าพารากอน ซีนีเพล็กซ์ ด้วยเงินลงทุน 50 ล้านบาท ใช้เทคโนโลยีฮอตจากซีเจ กรุ๊ป ประเทศเกาหลี
(Positioning Magazine 10 กรกฎาคม 2554)
เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กับวิกฤตจาก Dynamic Pricing Strategy
ในความเป็นจริง ปัญหาของเมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ๊ป กับผู้บริโภคคนชอบหนัง เกิดขึ้นมานาน แต่มาถึงจุดแตกหักเมื่อมีการปรับราคาเพิ่มอีก 20 บาทต่อที่นั่ง ความอดทนของคนดูหนังก็ระเบิดออกมาแบบยั้งไม่อยู่ จนกลายเป็นวิกฤตที่เมเจอร์ต้องรีบแก้ไข
(Positioning Magazine 10 กรกฎาคม 2554)
บัตรใหม่เมเจอร์ ดูหนังถี่เหมือนตีกอล์ฟ
วิชา พูลวรลักษณ์ บอกถึงแรงบันดาลใจของบัตร M Generation เป็นเหมือนบัตรเครดิตภาคบันเทิง แทนที่จะเรียก CRM แต่ขอเรียกเก๋ไปกว่านั้นว่า Customer Empower Program เพราะเป็น CRM เจาะลึกพฤติกรรมลูกค้าและนำผลไปเพิ่มมูลค่าธุรกิจได้ในอนาคต
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2554)
3D Show Now เปิดฉากเมเจอร์ 3 มิติ
ความสำเร็จของ “อวาตาร์” ในแบบฉบับ 3 มิติ ทำรายได้ถล่มทลายไปทั่วโลก ส่งผลให้ค่ายเมเจอร์ตัดสินใจลงทุนครั้งใหญ่ เพื่อก้าวสู่ยุค 3 มิติ
(Positioning Magazine กรกฎาคม 2553)
“วิชา พูลวรลักษณ์” พลัง “จอเล็ก” เพื่อ “จอใหญ่”
แค่ธุรกิจ “จอใหญ่” อย่างโรงหนังอย่างเดียวไม่พอแล้ว “วิชา พูลวรลักษณ์” ซีอีโอแห่งเมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กำลังลุยเข้าสู่ “จอเล็ก” อย่าง “เคเบิลทีวี” เพราะธุรกิจใหม่นี้คือสิ่งที่เจ้าพ่อธุรกิจบันเทิงคนนี้บอกว่ารอบนี้ “ห้ามพลาด”!
(Positioning Magazine พฤษภาคม 2553)
จับหมูไฟมาทำหมูหัน
คัมภีร์จากตัวแทนธุรกิจด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจโรงภาพยนตร์เมเจอร์ กรุ๊ป ธุรกิจโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ และบริษัทมือถือยักษ์ใหญ่อย่าง AIS ซึ่งถือเป็นกรณีศึกษาที่ถูกนำมาถ่ายทอดในงานสัมมนา “จะหามหมูไฟมาใส่อวยด้วยวิธีใด?” ซึ่งจัดโดยสมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย ทำให้หลายคนเกิดกำลังใจและทัศนคติในทางบวกต่อสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน
(Positioning Magazine พฤษภาคม 2550)
ตลาดคนดูหนังไม่โต เน้นโชว์นวัตกรรม
“ธุรกิจโรงภาพยนตร์” ที่มีเม็ดเงินราว 5 พันล้านบาทของตลาดรวมต่อปี ตัวเลขขยายตัวราว 10เปอร์เซ็นต์ หวั่นสถานการณ์การเมืองทำตลาดไม่โต รูปแบบของโรงหนังต้องเน้น Innovation ทั้งเก่าและใหม่ให้ทันสมัย สวยงามตลอดเวลา
(Positioning Magazine มกราคม 2550)
Major Cash Card CRM เคลียร์ใจ
เมเจอร์ ซีเนเพล็กซ์ หวังลบคำครหาผู้บริโภค สร้างปรากฏการณ์เคลียร์ใจด้วย Forward CRM ใหม่ “Major Cash Card” โดยโละบัตร M-Club หลังเปิดตัวมาได้ไม่นาน หวังกระตุ้นให้นักดูหนังเพิ่มความถี่ในการชมภาพยนตร์ให้มากขึ้นจากเดิม 1-2 เรื่อง/เดือน เป็น 2-4 เรื่อง/เดือน ด้วยงบโปรโมต 30 ล้านบาท คาดยอดขายบัตรปีแรกนี้ 300 ล้านบาท
(Positioning Magazine เมษายน 2549)