สนธิ ลิ้มทองกุล “เรามาเริ่มต้นเขียนประวัติศาสตร์การเมืองใหม่ด้วยกัน”
สนธิ ลิ้มทองกุล ในฐานะของสื่อมวลชน และ1 ใน 5 แกนนำกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ที่ไม่เพียงสร้าง “ปรากฏการณ์มัฆวานรังสรรค์” รวมพลังมวลชน สร้างจิตสำนึกใหม่ทางการเมือง คัดค้านการแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อฟอกผิดทักษิณ ชินวัตร และขับไล่รัฐบาลนอมินี แต่ภารกิจที่ท้าทายมากกว่านั้น คือ การผลักดันแนวคิด “การเมืองใหม่” ออกไปสู่สังคม
(Positioning Magazine กันยายน 2551)
จุดเปลี่ยนประเทศไทย Republic or Kingdom of Thailand
คำประกาศของ “สนธิ ลิ้มทองกุล” ต่อการชุมนุมของ “พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย” เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2551 ที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ว่านี่คือสงครามครั้งสุดท้ายแล้ว นับเป็นการประกาศอย่างมีนัยสำคัญ
(Positioning Magazine มิถุนายน 2551)
สนธิ ลิ้มทองกุล นักคิดผู้ทรงอิทธิพล
แม้ว่าวันนี้บทบาทของกลุ่มพันธมิตรฯ จะยุติลง แต่ “สนธิ ลิ้มทองกุล” ยังคงเป็นผู้นำทางความคิด การตั้งคำถามของเขามีผลต่อการตัดสินใจของรัฐบาลในการแก้ปัญหามาแล้วหลายครั้ง
(Positioning Magazine มิถุนายน 2550)
สนธิ ลิ้มทองกุล
“คุณอยากจะซื้อรถเบนซ์สักคันนึง หรือว่าประมูลป้ายทะเบียนรถยนต์ราคาสัก 15 ล้าน 9 ล้าน คุณทำได้ แต่ต้องแน่ใจนะว่าเงินที่คุณเอาไปประมูล หรือซื้อรถราคาสิบๆ ล้านนั้น คุณไม่ได้เบียดเบียนฉ้อราษฎรบังหลวงเอามา”
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2549)
ปรากฏการณ์ สนธิ ลิ้มทองกุล
คงไม่มี “สื่อมวลชน” คนใดที่จะสามารถสร้างปรากฏการณ์ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองได้เท่ากับ “สนธิ ลิ้มทองกุล” เมื่อพลานุภาพของเขา ทำให้ ทักษิณ ชินวัตร ต้องยอมลุกจาเก้าอี้นายกรัฐมนตรี
(Positioning Magazine กรกฎาคม 2549)
ความผิดพลาดที่รัฐบาลปิดกั้นสื่อ กรณีศึกษา “เมืองไทยรายสัปดาห์”
“สังคมไทยมักจะมีความรู้สึกเห็นอกเห็นใจคนถูกทำร้าย และเมื่อสื่อรายการทางทีวีถูกปิดกั้น ถูกถอดรายการคนทั่วไปจึงรู้สึกเห็นใจ คุณสนธิ (ลิ้มทองกุล) มากขึ้น สังเกตหลายๆ คนเปลี่ยนเบอร์โทรศัพท์หนีจากเครือข่าย AIS มากขึ้น เพราะรู้สึกมีส่วนร่วมในเหตุการณ์ และไม่พอใจที่สื่อถูกทำร้าย
(Positioning Magazine ธันวาคม 2548)
ปรากฏการณ์ “สนธิ ลิ้มทองกุล” ในฐานะที่เป็น “ข่าว”
หลังจากที่เรียกว่า “ข่าว” ในโทรทัศน์ ตีพิมพ์ใน “ผู้จัดการรายวัน” เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา ก็มีนักจัดรายการของสถานีโทรทัศน์แห่งหนึ่งและสถานีวิทยุอีกสองแห่ง ติดต่อให้ผมช่วยไปพูดอะไรเกี่ยวกับ “ข่าว” ในยุคนี้ในรายการของตน หลังจากนั้น มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งก็ขอให้ผมไปร่วมการอภิปรายในหัวข้อทำนองเดียวกันอีก นี่คือตัวอย่างที่แสดงว่า อะไรที่เราเรียกๆ กันแบบผ่านๆ ว่า “ข่าว” ในสมัยนี้ ดูจะมีความซับซ้อนไม่ใช่เล่นเหมือนกัน ไม่ใช่เป็นอะไรที่ใครๆ ก็สามารถเข้าใจได้ง่ายๆ
(Positioning Magazine ธันวาคม 2548)
เมืองไทยรายสัปดาห์ “ชาเขียว” ฟีเวอร์
ปรากฏการณ์ฟีเวอร์ “ เมืองไทยรายสัปดาห์ ” ที่นับวันยิ่งแรงมากขึ้นเรื่อยๆ หากมองในมิติโปรดักส์ที่ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็ว Key of success กุญแจแห่งความสำเร็จ สามารถอธิบายภาพในมิติทางการตลาด ที่นักวิชาการเปรียบเทียบว่า คล้ายกับกระแสชาเขียว ซึ่งเป็นเครื่องดื่มสุขภาพที่ฮอตที่สุดในเวลานี้แต่ยังอยู่บนการตลาดความเสี่ยง (risky marketing)
(Positioning Magazine ธันวาคม 2548)
Talk Show กรณีศึกษา เอแบค โพลล์ สำรวจคนกรุงเทพฯ คัดค้าน ปลดรายการช่อง 9
กลายเป็นกรณีศึกษา ที่แวดวงวิชาการจากสถาบันการศึกษาให้ความสนใจ หลังเกิดกระแสวิพากษ์ “รายการเมืองไทยรายสัปดาห์” เมื่อครั้งถูกปลดออกจากผังช่อง 9 ทำให้สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ ของ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ หยิบประเด็นรายการนี้มาศึกษาอย่างจริงจัง โดยสำรวจความคิดเห็นประชาชนที่ติดตามข้อมูลข่าวสารด้านการเมืองต่อประเด็นต่างๆ หลากหลายแง่มุมอย่างน่าสนใจ
(Positioning Magazine ธันวาคม 2548)
ปรากฏการณ์สีเหลือง
ถึงวันนี้ เสื้อสีเหลืองดังกล่าว กลายเป็นสัญลักษณ์ของการต่อสู้ ซึ่งมีมวลมิตรขยับใกล้เกือบหนึ่งล้านคนแล้ว ที่ซื้อหาไว้เป็นเจ้าของ โดยเฉพาะช่วงสัญจรครั้งที่ 9 และครั้งที่ 10 ที่ผ่านมา มีผู้เข้าคิวรอซื้อหาเสื้อสีเหลือง มากถึง 1 แสนตัวภายในสัปดาห์เดียว
(Positioning Magazine ธันวาคม 2548)