เมืองไทยรายสัปดาห์ “ชาเขียว” ฟีเวอร์
ปรากฏการณ์ฟีเวอร์ “ เมืองไทยรายสัปดาห์ ” ที่นับวันยิ่งแรงมากขึ้นเรื่อยๆ หากมองในมิติโปรดักส์ที่ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็ว Key of success กุญแจแห่งความสำเร็จ สามารถอธิบายภาพในมิติทางการตลาด ที่นักวิชาการเปรียบเทียบว่า คล้ายกับกระแสชาเขียว ซึ่งเป็นเครื่องดื่มสุขภาพที่ฮอตที่สุดในเวลานี้แต่ยังอยู่บนการตลาดความเสี่ยง (risky marketing)
(Positioning Magazine ธันวาคม 2548)
โพลล์คนกรุงชี้ การเมืองเดือด สารพัดม็อบขย่มรัฐบาล
หนังสือพิมพ์ กรุงเทพธุรกิจ หน้า 2 (วันวันจันทร์ 28 พฤศจิกายน 2548) ได้นำเสนอรายงานวิเคราะห์ระบุว่า ปรากฏการณ์ “สนธิฟีเวอร์” ทุกช่วงวันศุกร์นั้น สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ได้สำรวจความคิดเห็นประชาชนเรื่อง “ประชาชนคิดอย่างไรต่อสถานการณ์ร้อนทางการเมือง”
(Positioning Magazine ธันวาคม 2548)
Talk Show กรณีศึกษา เอแบค โพลล์ สำรวจคนกรุงเทพฯ คัดค้าน ปลดรายการช่อง 9
กลายเป็นกรณีศึกษา ที่แวดวงวิชาการจากสถาบันการศึกษาให้ความสนใจ หลังเกิดกระแสวิพากษ์ “รายการเมืองไทยรายสัปดาห์” เมื่อครั้งถูกปลดออกจากผังช่อง 9 ทำให้สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ ของ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ หยิบประเด็นรายการนี้มาศึกษาอย่างจริงจัง โดยสำรวจความคิดเห็นประชาชนที่ติดตามข้อมูลข่าวสารด้านการเมืองต่อประเด็นต่างๆ หลากหลายแง่มุมอย่างน่าสนใจ
(Positioning Magazine ธันวาคม 2548)
จากม็อบมือถือสู่ม็อบ “บรอดแบนด์”
ถ้าเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ มี “ม็อบมือถือ” เป็นตัวขับเคลื่อนแล้ว แต่ม็อบครั้งนี้ ไม่ได้มีแค่โทรศัพท์มือถือ แต่ยังมี “เว็บไซต์” เป็นตัวแปรสำคัญ กลายเป็นปรากฏการณ์ที่ทำให้บรรดาสื่อมวลชน ที่ติดตามเรื่องราวของ สนธิ ลิ้มทองกุล และ “เมืองไทยรายสัปดาห์” มองเห็น “ประเด็น” ไม่ต่างกันนัก
(Positioning Magazine ธันวาคม 2548)
ลำดับเหตุการณ์สำคัญ
ลำดับเหตุการณ์ ที่รัฐบาลใช้มาตรการ “เซ็นเซอร์” มาใช้ในการยุติรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ กลายเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้รายการเมืองไทยรายสัปดาห์ได้รับความนิยมจากคนดู
(Positioning Magazine ธันวาคม 2548)
เมืองไทยรายสัปดาห์ ปรากฏการณ์ “สนธิ” ฟีเวอร์
กลายเป็น Talk of the town ไปแล้ว สำหรับ “รายการเมืองไทยรายสัปดาห์” ซึ่งเริ่มออกอากาศ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2546 ซึ่งตรงกับวันชาติสหรัฐอเมริกา โด่งดังจนกลายเป็น “ปรากฏการณ์สนธิ” ชนิดที่ใครก็หยุดไม่อยู่
(Positioning Magazine ธันวาคม 2548)
เจาะลึกโฆษณาแบงก์
เสียงเพลงหวานไพเราะจากน้ำเสียงของ พลพล พลกองเส็ง นักร้องแกรมมี่ “ชีวิตจะไม่เดือดร้อน ถ้าหากมีออม...มีออมไม่มีอด…” นำเรื่องไปสู่จุดจบที่งดงาม เมื่อกระปุกออมสินโผล่ขึ้นมา พร้อมกับวาระแห่งการออมใหม่ ซึ่งเป็นทฤษฎีในเรื่องการออมที่แตกต่างไปจากวิชาเศรษฐศาสตร์เดิมของจอห์น เมย์นาร์ด เคนส์
(Positioning Magazine ธันวาคม 2548)
Liverpool: Big Deal Big Idea
การทุ่มเงินเป็นจำนวนถึง 4,500 ล้านบาท เพื่อแลกกับการได้มาของสัดส่วนหุ้น 30% ในสโมสร Liverpool ของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และพันธมิตร เป็นสิ่งยืนยันชัดเจนถึงอิทธิพลของกีฬาฟุตบอลที่อยู่ในจิตใจของผู้คนในหลากหลายมิติ
(Positioning Magazine มิถุนายน 2547)