ฟาร์มไอเดีย...กันตนา
“ผมทำช่องฟาร์ม แชแนล เพราะผมชอบปลูกต้นไม้ และผมร่วมทุนกับเมเจอร์ ของคุณวิชา เพื่อทำช่องหนัง เพราะมีส่วนผสมของธุรกิจที่ลงตัวกัน และจะมีอีก 2 ช่องคือช่องสุขภาพ และช่อง Luxury เลย ที่ยังมีเซ็กเมนต์ที่ต้องการชมและยังไม่มีคนทำอย่างจริงจัง เพื่อบุกธุรกิจดาวเทียมในปีนี้โดยเฉพาะ”
(Positioning Magazine มีนาคม 2553)
เปิดบ้าน Big Brother ปี 2 ปั้นอย่างไรให้ดัง
“เรียลลิตี้โชว์ที่มีเรตติ้งชนะละคร” เป็นการจุดประกายความสนใจแรกให้ ศศิกร ฉันท์เศรษฐ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท กันตนา กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ที่ตัดสินใจบินลัดฟ้าไปดูงาน Big Brother ที่ต่างประเทศ เมื่อ 8 ปีที่แล้ว แต่ด้วยความไม่พร้อม ทั้งเรื่องสถานที่ และสื่อต่างๆ ระบบการโหวตผ่าน SMS รวมถึง multimedia ต่างๆ ที่จะช่วยดันให้เรียลลิตี้โชว์เกิดได้ จึงได้แต่รอเวลา
(Positioning Magazine มีนาคม 2549)
ใช้แบรนด์สร้างแบรนด์
รายการ Reality Show เมืองไทยผุดขึ้นมาหลายสิบรายการ แต่รายการใหญ่ๆ หรือคอนเซ็ปต์แรงๆ มีให้จับตาไม่มากนัก Academy Fantasia โครงการแรกเปิดตัวอย่างยิ่งใหญ่และผลตอบรับที่ได้ก็ไม่น่าผิดหวัง เจ้าของสินค้าและบริการมากหน้าหลายตาตบเท้าเข้าเป็นสปอนเซอร์ไม่ขาดสาย แต่จะมีสักกี่คนที่จำได้ว่า “ผู้สนับสนุนหลักอย่างเป็นทางการ”
(Positioning Magazine พฤษภาคม 2548)
UBC : The Reality Trend Setter
หลังจากที่เราได้ประมวลเรื่องราวเพื่อนำเสนอสู่มือผู้อ่านในฉบับเดือนกันยายน 2547 เมื่อครั้งที่ UBC ได้สร้าง “Talk of the Town” สร้างคำฮิตติดปากอย่าง “นักล่าฝัน” เราเป็นสื่อฉบับแรกและฉบับเดียวที่ไล่สัมภาษณ์ ตั้งแต่ ผู้เข้าแข่งขัน ครูฝึก ฝ่ายผลิตคนทำงาน ฝ่ายการตลาด รวมไปถึงสปอนเซอร์ แถมด้วยการเจาะลึกด้วยเรื่องราวเบื้องหลัง เป็นที่เดียวที่ได้เข้าไปถ่ายทำในสถานที่จริง ทั้งบ้านที่พัก และคอนเสิร์ตของพวกเขา
(Positioning Magazine พฤษภาคม 2548)
Big Brother : The Reality Experienced
54 ปี เมื่อนับถึงวันนี้ของกันตนา พร้อมๆ กับ 4 กลุ่มธุรกิจขนาดมูลค่ากว่าพันล้านบาท ตั้งแต่ธุรกิจครบวงจรในโทรทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อดนตรี สื่อภาพยนตร์ แอนิเมชั่น สื่อโฆษณา จนถึงงานอีเวนต์ออกาไนเซอร์ แน่นอน คำว่า “The Experienced” ทำให้จุดยืนของกันตนาในฐานะผู้ผลิตได้การรับการพิสูจน์ผ่านเวลานับปีกับประสบการณ์ที่ได้รับการบ่มเพาะตั้งแต่วันนั้นจนถึงวันนี้
(Positioning Magazine พฤษภาคม 2548)
The History of Reality Show
เดิมทีเดียวก่อนที่จะมีรายการที่เราคิดว่ามันเป็นเรียลลิตี้อย่างที่เป็นในปัจจุบัน ส่วนใหญ่จะเป็นรายการแนวเสนอความจริง (reality-based programming) ก่อนที่จะพัฒนามาสู่รูปแบบของเรียลลิตี้โชว์ หลังจากหนังสารคดีของคนธรรมดาได้รับความนิยม
(Positioning Magazine พฤษภาคม 2548)
กำหนดสูตรความดัง “REALITY TV”
เมื่อการนำเสนอความจริงแบบรายการ “Reality Show” ที่ไม่มีการเขียนบท หรือการกำหนดการกระทำของตัวละครไว้ล่วงหน้า ผู้ชมจึงกำหนดบทบาทของตัวละครแต่ละตัวตามมิติทางจิตวิทยา และประสบการณ์ที่ตัวเองมีให้เหมาะสมกับสิ่งที่ได้นำเสนอผ่านหน้าจอโทรทัศน์
(Positioning Magazine พฤษภาคม 2548)