5 ข้อ “อาม่า”กู้วิกฤตแบรนด์เสีย
กรณีล่าสุดกับการปฎิบัติการของมือถือ”อาม่า” ที่อยู่ในภาวะขายของไม่ได้เกือบ 1 เดือน จากปกติจำหน่ายได้ในหลักหมื่นเครื่อง หลังจากมีข่าวว่าคุณภาพของมือถือไม่ผ่านการพิจารณาของกสทช. ลองมาดูว่า 5 ข้อที่”อาม่า”เลือกทำเพื่อกู้วิกฤตของแบรนด์เป็นอย่างไร
(Positioning Magazine 25 กรกฎาคม 2555)
อาหม่อง มาร์เก็ต ทาร์เก็ต 3 ล้าน มากพอสำหรับ brand ใหม่
โทรศัพท์มือถือเป็นสินค้าล่าสุดที่รุกเจาะกลุ่มเป้าหมายชาวพม่าในไทยที่คาดว่าจะมีถึง 3 ล้านคน มีทั้งกำลังซื้อ และความต้องการมีสูงพอให้คาดหวังว่า มือถือ”อาหม่อง” จะทำยอดขายได้ทะลุ “หลักแสนเครื่อง” ในปีนี้
(Positioning Magazine 19 กรกฎาคม 2555)
เรื่องนี้ถึงหู “อาม่า” แน่!
มากกว่า 10 ล้านคนที่อยู่ในวัยตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป คือจำนวนลูกค้ามหาศาลที่รออยู่ นี่คือโอกาสที่โทรศัพท์มือถือ “อาม่า” มองเห็น และออกแรงทำตลาดมากขึ้น ในปีที่ 3 การบอกต่ออาจช้าเกินไป “อาม่า” จึงขอส่งเสียงให้ดังกว่าเดิมให้ “อาม่า” ได้ยินกันทั่วๆ ก่อนที่จะถูกคู่แข่งชิงตลาด
(Positioning Magazine 25 พฤษภาคม 2555)
แบรนด์ดังด้วยพลังชื่อ "อาม่า Can do"
ยิ่งเจาะกลุ่มเป้าหมายได้ย่อยมากเท่าไหร่ โอกาสที่ทำให้แบรนด์เกิด ยอดขายพุ่งก็ยิ่งมีมาก เหมือนอย่างที่โทรศัพท์มือถือ “infinity” ที่สู้ในตลาด ”เฮาส์แบรนด์” มาตั้งแต่ปลายปี 2549 ผ่านไป 3 ปีไม่ดังเสียที จนปลายปี 2552 เริ่มโฟกัสกลุ่มเป้าหมายที่ใช่ ด้วยการออกรุ่น ”อาม่า” (R-ma) จึงเริ่มมีพื้นที่ในช้อปมือถือมากขึ้น เป็นกรณีศึกษาของการทำตลาดอีกครั้ง ที่ย้ำให้เห็นว่าหากอยากแข่งได้ ต้องเจาะกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ (Niche Market) ซึ่ง ”มือถือเฮาส์แบรนด์” ไม่ต่างจากอีกหลายอุตสาหกรรมที่มีผู้เล่นรายใหญ่ในตลาดอยู่แล้ว ใครเข้ามาใหม่ต้องหา Blue Ocean ให้ได้ เพราะไม่เช่นนั้นหากกระโจนเข้าไปใน Red Ocean ก็ไม่รอด
(Positioning Magazine 10 มิถุนายน 2554)
Super R-ma ยึดลูกค้าสูงวัย
ในขณะที่หลาย ๆ คนกำลังตื่นเต้นและรอซื้อไอโฟน 4 แต่กลุ่มผู้สูงอายุที่ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือก็ต้องการความเรียบง่าย ชัดเจน ไม่ซับซ้อน “ซุปเปอร์อาม่า” มีจุดเด่นที่มีแป้นกดขนาดใหญ่ พร้อมกับฟังค์ชั่น Handlens Camera สามารถใช้แทนอุปกรณ์แว่นขยาย
(Positioning Magazine 9 พฤษภาคม 2554)