ตกตะกอนความคิด “จิก-ประภาส ชลศรานนท์”
การเป็นนักคิดของประภาสไม่ได้ทำให้เขาทะนงตัวมากขึ้นกว่าเดิม แต่ยังคงยอมรับความคิดเห็นคนอื่นเสมอในทุกครั้งที่สร้างสรรค์งาน และเขามักบอกกับ Creative ในเวิร์คพอยท์ว่า อย่ามองว่าแปลกแล้วต้องดี แต่เมื่อชิมแล้วต้องชอบ และต้องให้หลายคนชอบด้วย
(Positioning Magazine มกราคม 2554)
“Unilever” Got “Mass” Talent
ยูนิลีเวอร์มีเป้าหมายที่ใหญ่กว่าจากการซื้อลิขสิทธิ์รายการ Got Talent ของอังกฤษมาจัดในเมืองไทย เพราะรายการนี้เป็นการรวมความสามารถของทุกวงการมาประกวดรวมกันในที่เดียว ซึ่งไม่ต่างอะไรกับการรวมทุกกลุ่มเป้าหมายการตลาดมาไว้ในที่เดียว ให้ยูนิลีเวอร์ Got Mass Market แบบลงทุนตูมเดียวได้ปลาทั้งฝูง
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2553)
เหตุผลที่ขาใหญ่ออกโรงเอง
*I’ve got the power การแสดงศักยภาพทางการตลาดที่เหนือกว่าคู่แข่ง อย่างน้อยๆ ก็เป็นการตัดไม้ข่มนาม บรรดาคู่แข่ง FMCG ทั้งปวงที่มีผลประกอบการและส่วนแบ่งการตลาดที่ดีวันดีคืน
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2553)
Thailand’s Got Talent....ที่สุดแห่งความแมส
Got Talent มีใน 43 ประเทศทั่วโลก ในไทยเป็นประเทศที่ 5 ในเอเชียต่อจากจีน ฟิลิปปินส์ อินเดีย และอินโดนีเซีย เป็นรายการประกวดรูปแบบความสามารถของช่อง itv1 ประเทศอังกฤษ โดยบริษัท ฟรีแมนเทิล มีเดีย ออกอากาศเป็นครั้งแรกในวันที่ 9 มิถุนายน 2550
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2553)
ตีแตกกลยุทธ์ “เคแบงก์ SME” กวาด Mass บุกลอยัลตี้โปรแกรม
“เอสเอ็มอีตีแตก” ที่ตีโจทย์แตกจนสามารถหุ้มรายการทีวีได้อย่างแนบเนียน ออนแอร์ผ่านไป 8 เดือน กำลังกลายเป็น Success Story Case ที่งบประมาณ 100 ล้านบาทที่ทุ่มลงไปบรรลุเป้าหมายทั้งการได้แบรนด์ และได้ผลสำเร็จทางธุรกิจ ในการรุกตลาดกลุ่ม Mass ของธุรกิจกลุ่มเอสเอ็มอี
(Positioning Magazine ตุลาคม 2553)
Ugly Betty ปั้นโดฟในแดนจีน
Dove ที่นำเสนอแคมเปญ Real Beauty มาโดยตลอด ได้ใช้กลยุทธ์ Branded Content โดยนำซีรี่ส์ชื่อดังจากอเมริกา Ugly Betty มาจัดทำใหม่ และใช้ดาราจีนนำแสดง
(Positioning Magazine กันยายน 2553)
พลังเด็ก 15 วิกฤต หรือ โอกาส เอเอฟ7
ถ้าไม่สร้างสรรค์ คิดอะไรใหม่ ก็อาจกลายเป็น Dead Program จุดนี้ทำให้ AF7 ต้องสร้างความต่างหามุมที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน คือเลือกนักล่าฝันเด็กลงจากอายุ 18 ปี เหลือ 15 ปี ซึ่งเป็นวัยจี๊ด กล้า บ้าบิ่น มันส์ จนเกิดผลพวงป่วนทะลุโชว์ของ “มาร์ค V11” ขึ้นหน้าหนึ่งของหนังสือพิมพ์เกือบทุกฉบับ ข่าวหลายรายการพูดถึง
(Positioning Magazine สิงหาคม 2553)
พลิกคัมภีร์ K-SME-LG จุดพลุแบรนด์ ด้วย Branded Content
ยิ่งกว่าโฆษณา มากกว่า Tie-in ต้องเป็น Branded Content เครื่องมือการตลาดของแบรนด์เงินหนา เดิมพันสูง กับ 2 กรณีศึกษา เคแบงก์ ปั้นแบรนด์ผ่านรายการ “เอสเอ็มอีตีแตก” ขึ้นแท่นเจ้าตลาดSME ส่วนแอลจี จุดพลุแบรนด์ด้วยเรียลลิตี้ปั้นศิลปิน “ล้านฝันสนั่นโลก” หวังให้ดังระดับ Talk of the town
(Positioning Magazine มีนาคม 2553)
ใต้ฟ้าตะวันเดียว ละครไทย...หัวใจเกาหลี
กระแสคลั่งเกาหลี หรือ Korea Trend ยังคงเป็นเทรนด์สำคัญไม่จืดจาง กลายเป็น Blue Ocean ของละครไทยยุคนี้ ที่ต้องหา “Blue Ocean” เพื่อใช้เป็นจุดขายใหม่ ใช้แลกหมัดกับช่อง 3, 5 และ 7 เชื่อว่างานนี้การันตีได้ทั้งคนดูและสปอนเซอร์ได้ชัวร์
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2553)
Australia's Mini Chef
โด่งดังจนเป็นประเด็นทอล์กออฟเดอะทาวน์ ทำให้ยอดขายสินค้าพุ่ง และโฆษณาพากันแย่งช่วงเวลากันเข้ารายการแข่งขันการทำอาหารของผู้ใหญ่ “มาสเตอร์เชฟ” (Master Chef Australia) ของทีวีช่อง 10 ในดาวน์อันเดอร์ ที่ผู้ชมชาวออสซี่นับล้านพากันเปลี่ยนช่องเข้ามาชม จนแซงหน้ารายการเด็ดเป็นที่ฮือฮาไปแล้ว ทีวีช่องเก้าคู่แข่งปิ๊งไอเดีย หันมาจัดบ้างแต่หวังเจาะตลาดผู้ชมรุ่นเยาว์โดยเฉพาะ ให้ชื่อว่า Mini Chef Australia
(Positioning Magazine สิงหาคม 2552)