ออเร้นจ์เปลี่ยนเป็น “ทรูมูฟ”
บมจ.ทรู คอร์ปอเรชั่น ในฐานะบริษัทแม่ของทรูมูฟ ต้องการทำตลาดสินค้าและบริการภายใต้แบรนด์ทรูทั้งหมด จึงเลือกรีแบรนดิ้งโทรศัพท์มือถือใหม่จาก “ออเร้นจ์” เป็น “ทรูมูฟ” ก่อนที่จะหมดสัญญาเช่าไลเซ่นส์ใช้แบรนด์เดิมในสิ้นปี 2549 นี้ โดยทรูจ่ายค่าไลเซ่นส์สูงถึงปีละ 200 ล้านบาท และหากต้องการใช้แบรนด์ “ออเร้นจ์” ต่อไปต้องจ่ายเพิ่มเป็น 400 ล้านบาทต่อปี
(Positioning Magazine พฤษภาคม 2549)
Hermawan Kartajaya สูตรชิงเจ้าตลาด
“การบรรยายครั้งนี้ เปรียบเสมือนการแสดงดนตรีวงใหญ่แบบโอเปร่า” การเกริ่นนำจากกูรูด้านการตลาดชื่อดังของโลก “เฮอร์มาวัน การ์ตาจายา” (Hermawan Kartajaya) ทำให้มั่นใจว่าการบรรยายครั้งนี้ไม่มีเบื่อ ยิ่งผสมผสานกับเนื้อหาเต็มเปี่ยมแล้ว รับรองไม่ผิดหวัง
(Positioning Magazine เมษายน 2549)
กลับมาทั้งทีต้อง รีแบรนด์
กลับมานั่งบริหารกิจการโรมแรม “โรสการ์เด้นท์ ” หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ “สวนสามพราน” อีกครั้ง “สุชาดา ยุวบูรณ์” ตัดสินใจรีแบรนด์ โรสการ์เด้นท์ ใหม่ ใส่คำว่า ริเวอร์ไซด์ ต่อท้าย เพื่อตอกย้ำจุดขายทำเล ริมน้ำ และความเป็นไทย ที่ไม่ได้มีแค่ “สวนกุหลาบ” เหมือนในอดีต
(Positioning Magazine มีนาคม 2549)
สีสัน- แตกต่าง -ทางเลือก สร้างแบรนด์ LH Bank
เปิดตัวอย่างเป็นทางการไปแล้วกับแบงก์น้องใหม่ แต่เก๋าด้วยประสบการณ์เอาใจลูกค้าตลาดอสังหาริมทรัพย์บ้านเรา อย่าง “LH Bank” หรือ “Land And Houses Retail Bank” ซึ่งมาพร้อมกับแถบรวมสีที่หลากหลาย เพื่อไม่ให้แบงก์นี้ต้องกลายเป็นแบงก์สีใดสีหนึ่งในการรับรู้ของลูกค้า เหมือน Conventional banks ที่มีอยู่ก่อนซึ่งจองใช้ไปแล้วเกือบทุกเฉดสี
(Positioning Magazine มีนาคม 2549)
ม.ล.อภิชิต วุฒิชัย การตลาดไม่จำกัด
“dot dot dot” บริษัทชื่อแปลกนี้เป็นเจ้าของผลงานล่าสุด คือ การดีไซน์ลวดลายกระป๋องแป้งตรางูโฉมใหม่ โดยมี ม.ล.อภิชิต วุฒิชัย หรือ “คุณอ๊าร์ต” คุณพ่อลูกสองวัย 36 ปี นั่งแท่น Director
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2549)
Korea Wave ปรากฎการณ์สินค้า “วัฒนธรรม” นำเทรนด์
กระแสใหม่สังคมไทย... ที่พ้นจากยุค “ J-(Japan) Wave ขับเคลื่อนสู่ยุคใหม่ “ K-(Korea)-Wave กระแสนิยมสินค้าเกาหลีในเชิงวัฒนธรรม ที่กำลังไหล่บ่ามาในรูป “สินค้า วัฒนธรรม” หลากหลาย...
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2549)
“Hallyu” คลื่นความมั่งคั่งของเกาหลี
ในยุค Globalization โลกไร้พรมแดนทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนสินค้าและวัฒนธรรมข้ามพรมแดน นำมาซึ่งการหลั่งไหลของสินค้าและวัฒนธรรมจากประเทศหนึ่งสู่ประเทศหนึ่ง จากซีกโลกหนึ่งสู่อีกซีกโลกหนึ่ง กระแส “Americanization” ที่เคยเกิดขึ้นหลายสิบปีก่อน อาจกล่าวได้ว่าคือตัวอย่างแรกๆ
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2549)
พัฒนาเศรษฐกิจชาติ … ด้วย Korea Fever
นอกจากสินค้า Hallyu หรือสินค้าทางวัฒนธรรมอย่างหนัง ละคร และเพลง จะก่อให้เกิดรายได้จากการส่งออกลิขสิทธิ์จำนวนมหาศาลกลับไปประเทศเกาหลี แน่นอน! กระแส “เกาหลี ฟีเวอร์” ที่เป็นผลพลอยได้จากการส่งออกสินค้า Hallyu ไปยังหลายประเทศทั่วโลกนั้น ยังกลายเป็นเหมือน “ใบเบิกทาง” ที่จะนำพารายได้จากการขายสินค้าและบริการของเกาหลีเข้าไปรุกในตลาดต่างประเทศได้ง่ายขึ้น
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2549)
ยุทธศาสตร์อัพเกรดแบรนด์
การ co-brand อย่างแน่นแฟ้นแบบที่เรียกว่า Brand Collaboration เพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ขึ้นมา 1 ชิ้น ไม่ใช่เรื่องง่ายนักสำหรับนักการตลาดที่จะสรรหาแบรนด์ที่มี positioning ใกล้เคียงกัน เพราะการเอาแบรนด์ของตนไปผูกติดกับแบรนด์อื่นหากแบรนด์นั้นไม่แข็งแกร่งและมีชื่อเสียงพอ อาจทำให้ร่วมด้วยช่วยกันร่วงได้
(Positioning Magazine มกราคม 2549)
ยกระดับแบรนด์
ที่น่าสนใจไม่น้อยคือ การที่ “สยามพารากอน” ได้กลายเป็นแหล่งยกระดับแบรนด์ให้มีความเป็นพรีเมียมมากขึ้น ตั้งแต่ชั้น GF ซึ่งเป็นส่วน Gourmet Paradise ที่เด่นๆ ก็มีร้าน Mc Donald’s ซึ่งตกแต่งเรียบ หรู เก้าอี้นั่งเบาะ, โซนที่นั่งถูก 3 ส่วนชัดเจน, กระจกใสเรียบไม่ติดป้ายโปรโมชั่นมากเหมือนสาขาอื่น ขณะที่เมนูอาหารชุดจะมีราคาสูงกว่าปกติ พร้อมเพิ่มส่วน M-Station มีทั้งดีเจประจำร้านและนำเครื่องไอพอด 2 เครื่องมาบริการลูกค้าอีกด้วย
(Positioning Magazine มกราคม 2549)