”สร้างแบรนด์ไม่พอ” ต้องสร้างให้เกิดประสบการณ์ใน Brand ด้วย
หากถามว่า การสร้าง Brand คืออะไร เป็นชื่อหรือเป็นสัญลักษณ์หรือเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดความแตกต่างกว่าคู่แข่งขัน ซึ่งปัจจุบันการสร้าง Brand หรือการเกิดคุณค่าในสายตาลูกค้า Customer-Based Brand Equity (CBBE) นั้นต้องเกิดเนื่องจาก
(Positioning Magazine 23 เมษายน 2555)
สร้างแบรนด์ “ใจดี” ในยุค G Wave
ในปี 2012 เทรนด์การตลาดสำหรับประเทศไทยที่มาแรงแซงทุกวิกฤตเวลานี้ ต้องยกให้เทรนด์ “แบรนด์ ใจดี หรือ Generosity Brand” ซึ่งเป็นกลยุทธ์การสร้างแบรนด์ที่สามารถฝังแบรนด์เข้าไปในใจของผู้บริโภคได้แบบหยั่งรากลึก แล้วจะใจดีอย่างไรให้โดน
(Positioning Magazine 15 ธันวาคม 2554)
ส่องแถวแบรนด์ทั่วโลก
ผลิตภัณฑ์ของ Apple เป็นแบรนด์แรกๆ ในโลกที่เปลี่ยน Product Launch ธรรมดาๆ ให้กลายเป็นอีเว้นท์ ง่ายกว่ามากที่จะเปิดให้ Pre-order ทางออนไลน์ แต่ Apple เลือกที่จะใช้กลยุทธ์เข้าคิว โดยเฉพาะ iPhone4 และ iPad2 ทั้งยังแสดงให้เห็นถึงพลังของแบรนด์
( 17 ตุลาคม 2554)
อยากให้ลูกค้าต่อคิวต้อง...
Brand Awareness เป็นเป้าหมายที่แต่ละแบรนด์คาดหวังสำหรับการสร้างกระแสต่อแถวในเมืองไทย การจะดึงกลุ่มคนไทย ที่ไม่ได้มีพฤติกรรมชอบเข้าแถว ออกมาต่อแถวได้นั้น จะต้องแถวที่เกิดขึ้นต้องมาพร้อมกับ Cutting Edge Marketing เพื่อความภูมิใจต่อกลุ่มผู้ยอมเสียเวลาและอดทนมาเข้าแถวให้สมประโยชน์ด้านจิตใจ
(Positioning Magazine 17 ตุลาคม 2554)
ปั้น “แถว” สร้างแบรนด์ เขาทำกันอย่างไร
การเข้าแถว เป็นสิ่งที่สะท้อนความเป็นระเบียบของสังคมโดยเฉพาะในสังคมที่เจริญแล้ว หรือไม่ก็แสดงให้เห็นว่าแบรนด์ที่คนยอมต่อแถวนั้นมีแฟนระดับสาวกที่ยอมทนได้ทุกอย่าง สำหรับเมืองไทย การเข้าแถวที่เคยเป็นเรื่องแปลก ทำไมอยู่ ๆ จึงกลายมาเป็นปรากฏการณ์สร้างแบรนด์ แถมฮิตจนกลายเป็นกระแส Me too กันเลยทีเดียว
(Positioning Magazine 17 ตุลาคม 2554)
ทุกทางตันมีทางออก ทุกตลาดมีช่องว่าง
ท่ามกลางการแข่งขันทางธุรกิจที่ทุกแบรนด์ต่างก็พยายามเพิ่มและรักษาส่วนแบ่งการตลาดของตัวเอง จนกลายเป็นว่าทั้งตลาดมีแบรนด์ใหญ่ที่แทบจะยึดมาร์เก็ตแชร์ไปจนหมด แต่สำหรับ ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อาจารย์ประจำคณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลับเชื่อว่า “ทุกทางตันมีทางออกอยู่เสมอ” เหมือนกับคำกล่าว “There must be light at the end of tunnel”
(Positioning Magazine 13 กันยายน 2554)
แจ้งเกิดแบรนด์ด้วยข่าวลบ
New Opportunity การที่ต้องแข่งขันเพื่อสร้าง Conversation ของบรรดาแบรนด์ถึงจุดที่เริ่มไม่ง่าย และยากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะยิ่งเมื่ออยากจะ Out Standing โดดเด่นออกมา นักการตลาดและนักโฆษณาจึงเริ่มหาโอกาสจากการสร้างกระแส “แง่ลบ” บนสื่อออนไลน์ แล้วบริหารมันให้เป็นโอกาส
(Positioning Magazine 10 สิงหาคม 2554)
เช็กอิมเมจแบรนด์ด้วยตุ๊กตา
แบรนด์ ”Apple” ที่สะท้อนผ่านตุ๊กตาบนเว็บไซต์ของ brandtoys.com แสดงให้เห็นถึงความสร้างสรรค์ ความแตกต่างและเป็นที่ปรารถนา ขณะที่ ”BlackBerry” 2 ความรู้สึกแรกเหมือนกัน ต่างกันข้อที่ 3 ที่บีบีเป็นแบรนด์ที่ดูมุ่งมั่น แน่วแน่
(Positioning Magazine 10 มิถุนายน 2554)
“ตัน” กะ “โน้ส” Double Brand สร้าง Brand
ปรากฎการณ์ “ตันกะโน้ต “ ดูท่าจะกลายเป็นคลื่นลูกใหม่ที่ถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการตลาดของเครื่องดื่มรับร้อนของปีนี้เสียแล้ว จากที่ผู้ชมมีโอกาสได้เห็นโน้สหลายปีหนเพราะต้องไปพักตัวสร้างผลงาน แต่ถ้าคิดผ่านมุมมองนักการตลาดอย่างตัน การปล่อยศักยภาพที่สร้างประโยชน์ได้ให้อยู่นิ่งเป็นปีถึงหลายปี ไม่ใช่การลงทุนที่ดี
(Positioning Magazine 14 มีนาคม 2554)