โจรสลัดการเมือง
ใครเลยจะคาดคิดว่าพรรคโจรสลัด (Piratenpartei Deutschland) ม้านอกสายตาในเวทีเลือกตั้งระดับประเทศเมื่อปี ค.ศ. 2006 จะกลายเป็นดาวรุ่งพุ่งแรงในศึกเลือกตั้งท้องถิ่นของกรุงเบอร์ลินในปีนี้ แรงจนเขี่ยพรรคร่วมรัฐบาลอย่าง FDP (Freie Demokratische Partei – พรรคเสรีประชาธิปไตย) ให้ตกเวทีไปได้
(Positioning Magazine 17 ตุลาคม 2554)
ประชานิยมรถคันแรกแคมเปญนี้ “ปู” จัดให้
สำหรับแนวทางของมาตรการคืนเงิน 1 แสนบาทในการซื้อรถคันแรก ยังไม่มีความชัดเจนว่าจะออกมาในลักษณะใด แต่หลักการที่ไม่เปลี่ยนแปลงคือ คืนเงินให้กับผู้ซื้อไม่เกินคันละ 1 แสนบาท
(Positioning Magazine 13 กันยายน 2554)
ตัวเลขน่ารู้ ฤดูหาเสียง
60-100 ล้านบาท คืองบที่คาดว่านักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส.ใช้จริง
(Positioning Magazine 10 มิถุนายน 2554)
กลยุทธ์การใช้สื่อโซเชี่ยลมีเดียสำหรับการเมือง
กำหนดกลุ่มเป้าหมาย (Choose the right targets) แน่นอนว่าไม่ใช่ทุกพรรคจะมีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ใช้โซเชี่ยลมีเดีย กำหนดทั้งผู้ชาย ผู้หญิง อายุ แบ่งเป็นหลายๆ กลุ่ม
(Positioning Magazine 10 มิถุนายน 2554)
Social Media กับการเมือง
เข้าสู่ฤดูเลือกตั้งกันอีกครั้งนะครับ จะว่าไปในทุกๆ ครั้งที่มีการเลือกตั้ง มักจะมีการสร้างสีสันทั้งจากตัวผู้สมัครหรือจากแคมเปญรณรงค์เลือกตั้ง กิจกรรมต่างๆ ที่แต่ละพรรคจะหามาดึงดูดมวลชน รวมไปถึงสื่อที่คอยติดตามรายงานข่าวเพื่อชิงพื้นที่สื่อ เพื่อสร้างการจดจำให้กับประชาชน
(Positioning Magazine 10 มิถุนายน 2554)
10 Key Success กวาดคะแนนเสียงในโซเชี่ยลมีเดีย
ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปี 2554 สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) อย่าง Twitter และ Facebook เข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมากในการหาเสียงให้กับนักการเมือง แต่สื่อออนไลน์แบบนี้เป็นเหมือนดาบสองคม ถ้านักการเมืองไม่รู้จักใช้ให้ถูกวิธี แทนที่จะได้คะแนนเสียง อาจจะสูญเสียคะแนนเสียงและภาพลักษณ์ไปได้ง่าย ๆ ต่อไปนี้คือบัญญัติสิบประการ สำหรับนักการเมืองในการใช้ Twitter & Facebookให้ประสบผลสำเร็จ
(Positioning Magazine 10 มิถุนายน 2554)
โมเดลสหรัฐฯ - สิงคโปร์
การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาในปี 2008 ที่ ”บารัค โอบามา” ชนะ กลายเป็นกรณีศึกษาสำหรับนักการเมืองทั่วโลกในการใช้ ”โซเชี่ยลมีเดีย” มาเป็นเครื่องมือช่วยหาเสียง เพราะมีการวัดผลชนะในครั้งนั้นว่า ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการทวีตผ่านทวิตเตอร์ โพสต์ข้อความนโยบายผ่านเฟซบุ๊ก และโพสต์วิดีโอลงไปในยูทูบ ที่ทำให้ข้อความที่เขาหาเสียงนั้นกระจายไปยังผู้คนจำนวนมากในเวลาที่รวดเร็ว
(Positioning Magazine 10 มิถุนายน 2554)
"ปูเองค่ะ - มาร์ค (ทีมงาน)"
แม้กลยุทธ์ของพรรคเพื่อไทยอาจไม่ทันประชาธิปัตย์ในโซเชี่ยลมีเดีย แต่จากการสังเกตการณ์พบว่า ”ปู ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร” ถือว่าลงมาเต็มตัวในโซเชี่ยลมีเดียมากกว่าเมื่อเทียบกับ ”มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” เพราะการโพสต์ในเฟซบุ๊ก Yingluck Shinawatra หรือทวีตใน @PouYingluck แม้จะมีทีมงานช่วย แต่ ”ยิ่งลักษณ์” ก็พยายามโพสต์เองบ่อยกว่า และยังได้ความรู้สึกสัมผัสถึงได้มากกว่า
(Positioning Magazine 10 มิถุนายน 2554)
คนรุ่นใหม่เพื่อกลยุทธ์ Like
พรรคประชาธิปัตย์และพรรคเพื่อไทยต่างมีทีมงานเพื่อปฏิบัติการบนโซเชี่ยลมีเดียโดยเฉพาะ ซึ่งจะดำเนินการตามกรอบยุทธศาสตร์แคมเปญหาเสียงในระดับภาพรวม อย่างที่เห็นคือการคุมโทนตัวตนบุคคลิกของพรรค ผู้สมัครแต่ละคนพูดคุยในเรื่องราวเนื้อหานโยบายพรรค เพราะนอกจากป้องกันการผิดกฎหมายเลือกตั้งแล้ว เพื่อให้สื่อสารแบรนด์ของพรรคและผู้สมัครได้อย่างไม่วอกแวก
(Positioning Magazine 10 มิถุนายน 2554)
สงครามชิง First Voter ปชป.-เพื่อไทย เปิดศึกหา Like
สนามการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปี 2554 มีปรากฎการณ์ของ “โซเชี่ยลมีเดีย” อย่างเฟซบุ๊กและทวิตเตอร์ ที่พรรคการเมืองใหญ่ 2 พรรคกำลังแข่งกันอย่างหนัก แย่งเซ็กเมนต์เดียวกัน จนทำให้การเลือกตั้งครั้งนี้มีสีสันชวนติดตามว่ากระบวนการสร้าง Like ดึง Follower ในปลายทางจะได้ Vote หรือไม่ นาทีนี้ “พรรคการเมืองหรือนักการเมือง” ก็ไม่ต่างอะไรจากสินค้าที่หวังว่ากลุ่มเป้าหมาย จะซื้อ ใช้แล้วชอบ พร้อมบอกต่อ และยอดขายที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่องคือฐานคะแนนเสียงที่แข็งแรงเพื่อนำไปสู่การเป็นพรรครัฐบาลหรือผู้นำประเทศในอนาคต
(Positioning Magazine 10 มิถุนายน 2554)