คนรุ่นใหม่เพื่อกลยุทธ์ Like
พรรคประชาธิปัตย์และพรรคเพื่อไทยต่างมีทีมงานเพื่อปฏิบัติการบนโซเชี่ยลมีเดียโดยเฉพาะ ซึ่งจะดำเนินการตามกรอบยุทธศาสตร์แคมเปญหาเสียงในระดับภาพรวม อย่างที่เห็นคือการคุมโทนตัวตนบุคคลิกของพรรค ผู้สมัครแต่ละคนพูดคุยในเรื่องราวเนื้อหานโยบายพรรค เพราะนอกจากป้องกันการผิดกฎหมายเลือกตั้งแล้ว เพื่อให้สื่อสารแบรนด์ของพรรคและผู้สมัครได้อย่างไม่วอกแวก
(Positioning Magazine 10 มิถุนายน 2554)
สงครามชิง First Voter ปชป.-เพื่อไทย เปิดศึกหา Like
สนามการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปี 2554 มีปรากฎการณ์ของ “โซเชี่ยลมีเดีย” อย่างเฟซบุ๊กและทวิตเตอร์ ที่พรรคการเมืองใหญ่ 2 พรรคกำลังแข่งกันอย่างหนัก แย่งเซ็กเมนต์เดียวกัน จนทำให้การเลือกตั้งครั้งนี้มีสีสันชวนติดตามว่ากระบวนการสร้าง Like ดึง Follower ในปลายทางจะได้ Vote หรือไม่ นาทีนี้ “พรรคการเมืองหรือนักการเมือง” ก็ไม่ต่างอะไรจากสินค้าที่หวังว่ากลุ่มเป้าหมาย จะซื้อ ใช้แล้วชอบ พร้อมบอกต่อ และยอดขายที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่องคือฐานคะแนนเสียงที่แข็งแรงเพื่อนำไปสู่การเป็นพรรครัฐบาลหรือผู้นำประเทศในอนาคต
(Positioning Magazine 10 มิถุนายน 2554)
Turnaround ประชาวิวัฒน์
หลังจากที่ประกาศนโยบายประชาวิวัฒน์ 9 ข้อออกไปแล้ว รัฐบาลคาดหวังว่า เสียงตอบรับของกลุ่มเป้าหมายและประชาชน น่าจะออกมาดี หรืออยู่ในระดับที่น่าพึงพอใจ แต่สิ่งที่เกิดขึ้นไม่เป็นไปตามคาด เสียงสะท้อนแรกที่กลับมาชัดเจนที่สุดคือ การเดินตามรอยประชานิยม แจกของฟรี ไม่มีอะไรใหม่
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2554)
คู่มือขายไข่ไก่เป็นกิโลฯ
หนึ่งในนโยบาย 9 ข้อตามแนวทางประชาวิวัฒน์ คือการขายไข่ไก่เป็นกิโลกรัม ที่ได่รับการกล่าวถึง พูดถึง และถกเถียงกันมากที่สุด และเป็นนโยบายร้อนแห่งปีทีเดียว เพราะเป็นการแก้ปัญหาอีกแนวทางหนึ่งที่ต่างไปจากเดิม
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2554)
ประชาวิวัฒน์ การเมืองแบบ Consumer Insight
การมองกลยุทธ์การบริหารจัดการของรัฐ โดยเฉพาะนโยบายประชาวิวัฒน์ สามารถมองได้ในหลายแง่มุม ตามการตีความของแต่ละคน แต่เนื้อหาโดยหลักของประชาวิวัฒน์ รากฐานที่แท้จริงก็คือหลักการตลาดที่ใช้ในการบริหารบริษัทเอกชนทั่วๆไป
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2554)
ประเสริฐ เอี่ยมรุ่งโรจน์ ประชาวิวัฒน์ หรือประชาธิปัตย์วิวัฒน์
ถ้าปัญหาของบ้านเราเปรียบเหมือนผลส้ม นโยบายที่พรรคประชาธิปัตย์ทำออกมาก็คือเปลือก แต่แก่นไม่ยอมทำ มันทำยาก แก่นทำแล้วไม่ได้รับความนิยมชมชอบ ปัญหาของประเทศนี้ ไม่จำเป็นต้องมิสเตอร์ป๊อปปูล่าร์นะครับ ประชาวิวัฒน์เป็นแค่เปลือก แก่นคุณไม่แก้
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2554)
ไม่เอา...ชั่งไข่
ผลสำรวจสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ ความรู้สึกของประชาชนต่อราคาไข่ของนายกรัฐมนตรี จากกลุ่มเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้งสิ้น 1,103 ตัวอย่าง ระหว่างวันที่ 22-23 ม.ค.ที่ผ่านมา
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2554)
ชั่งไข่ แคมเปญล้มเหลว
สินค้าการเมืองภายใต้มาตรการประชาวิวัฒน์อีกชิ้น ที่หวังผลทางการเมืองเฉพาะหน้า คือ มาตรการ “ชั่งไข่” ที่ทำท่าจะไปไม่รอด โดยเริ่มจาก “ไข่ไก่” ที่ให้มีการทดลองให้มีการเลือกซื้อขายกันเป็นกิโล ซึ่งรัฐบาลบอกว่าจะเป็นการประหยัดต้นทุนการคัดแยก ได้ประมาณ 5-10 สตางค์
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2554)
ประชาวิวัฒน์ ‘A Me Too’ Political Campaign
ประชาวิวัฒน์ กับของขวัญ 9 ชิ้นที่รัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ประกาศเป็นวาระเร่งด่วนมอบให้กับประชาชนคนไทยไปเมื่อวันที่ 9 มกราคมที่ผ่านมา กำลังเป็นประเด็นร้อนทางการเมือง ถือเป็นกรณีศึกษาของ Political Marketing ที่รัฐบาลอภิสิทธิ์กำลังเดินตามรอยนโยบายประชานิยมของทักษิณ ชินวัตร อย่างปฏิเสธได้ยาก
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2554)
ตัวอย่างเหตุการณ์ตอกย้ำอุดมการณ์ประชาธิปัตย์
ธันวาคม 2533 –ถอนตัวจากพรรคร่วมรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
ในปี 2533 พรรคประชาธิปัตย์ได้สร้างความสนใจต่อพรรคอีกครั้ง หลังจากที่พรรคประชาธิปัตย์อยู่ในยุคที่ไม่มีบทบาทางการเมืองมากนัก โดยเป็นเพียง 1 ในพรรคร่วมรัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เท่านั้น แต่ภายหลังเข้าเป็นพรรคร่วมรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ไม่นาน
(Positioning Magazine พฤษภาคม 2550)