เดลล์ คอนซูเมอร์ Fan Page มาทีหลังแต่แฟนเยอะ
การเปิดตัวสินค้ากลุ่มโน้ตบุ๊กสำหรับคอนซูเมอร์ของเดลล์ เริ่มต้นเมื่อเดือนสิงหาคม 2552 และเป็นช่วงเดียวกับที่สังคมไทยเริ่มพูดกันเรื่องโซเชี่ยลมีเดียหรือเครือข่ายสังคมออนไลน์ บริษัทเองก็เริ่มทดลองทำแฟนเพจบนเฟซบุ๊ก เริ่มต้นจากมีแฟนเป็นศูนย์ เพียงปีเดียวมีจำนวนที่เพิ่มขึ้นเกือบสองหมื่นคน
(Positioning Magazine ตุลาคม 2553)
เรื่องของกฤตวิทย์ เด็กเก่ง...การตลาด
ถ้าใครมีโอกาสได้รู้จักกฤตวิทย์ กฤตยเรืองโรจน์ จะรู้สึกทันทีว่าเขาเป็นคนสนุกสนาน พูดคุยเก่ง มีลักษณะของหนุ่ม Metrosexual เต็มที่ ทันสมัย คุยเก่ง คล่องแคล่ว พูดเร็ว อาจจะถือได้ว่าเขาคือตัวแทนของคนหนุ่มในสังคมเมือง
(Positioning Magazine ตุลาคม 2553)
Key Success ของเดลล์ Fan Page
รู้จักโพสิชันนิ่งของแบรนด์ แล้วใส่ความรู้สึกให้เป็นคนคนหนึ่ง มีเอกลักษณ์ชัดเจน กรณีนี้เดลล์กำหนดให้เป็นคนทันสมัย และเหนือชั้น เพื่อให้สอดคล้องกับเดลล์ของคุณ ตัวตนของคุณ
(Positioning Magazine ตุลาคม 2553)
คุยตอนไหน คุยอะไรกับแฟนดี
เดลล์เชื่อว่าการให้ข้อมูลสามเวลาหลังอาหารที่กำหนดไว้กำลังดี บางบริษัทให้กันถึง 5 เวลาถือว่ามากเกินไป เดลล์จะไม่เน้นการให้ข้อมูลเรื่องของสินค้า ไม่ใช่ทุกวันมีแต่เรื่องเดลล์
(Positioning Magazine ตุลาคม 2553)
ไม่ง้อ iPad
ใครที่ไม่อยากทุ่มเทจิตใจกับ iPad คอมพิวเตอร์แท็บเล็ตหน้าจอสัมผัสขนาดพกพาไร้คีย์บอร์ดของแอปเปิลอยู่รายเดียว กำลังมีทางเลือกอื่นๆ จากกองทัพแท็บเล็ต ที่แบรนด์ต่างๆ พัฒนาออกมา เพื่อหวังจะมาช่วงชิงกระแสความนิยมอุปกรณ์แท็บเล็ต ที่ iPad ปลุกขึ้นมาจนหยุดไม่อยู่
(Positioning Magazine กันยายน 2553)
ใครไม่ “Touch” ถอยไป
ยุคนี้ต้อง "Touch" เท่านั้น เมื่อโทรศัพท์มือถือ กล้องดิจิตอล โน้ตบุ๊ก เน็ตบุ๊ก พาเหรดกันออกเครื่องรุ่นใหม่ ใช้ระบบสัมผัสหน้าจอ แค่อาทิตย์เดียวคลอด 3-4 แบรนด์ ทุกค่ายยัน ทัชโตแน่
(Positioning Magazine มีนาคม 2553)
พรีเซ็นเตอร์บนโลกออนไลน์
เมื่อแบรนด์สินค้าจะเข้าสู่ Social Network อย่างเฟซบุ๊กหรือทวิตเตอร์ คำถามแรกที่ต้องตอบให้ได้เสียก่อนคือ การกำหนด “ตัวตน” หรือ “Online Presenter” ของแบรนด์ เป็นอย่างไรในสายตาชุมชนออนไลน์? ที่สำคัญการเลือกต้องทำอย่างระมัดระวัง เพราะตัวตน Avatar ของแบรนด์นี้จะเป็นหน้าตาที่ถูกใช้ไปพูดคุยโต้ตอบในฐานะตัวแทนของแบรนด์และองค์กรในระยะยาว ไม่สามารถถูกเปลี่ยนไปมาได้ง่ายๆ
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2552)
Dell ต้องพึ่ง Social Network
Dell ในไทยกำลังมาถึงจุดเปลี่ยน จากที่เคยเน้นขายคอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก และสินค้าไอทีให้องค์กรบริษัทต่างๆ หันมาเน้นขายปลีกผ่านดีลเลอร์สู่ร้านค้า ซึ่งต้องฝ่าฟันกับหลายแบรนด์ที่อยู่มาก่อนและมีคอนเนกชั่นกับดีลเลอร์ร้านค้า ซึ่งอาวุธลับของเดลล์รอบนี้ก็คือ Social Network
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2552)
กฤตวิทย์ กฤตยเรืองโรจน์ ผู้พลิกหน้าประวัติศาสตร์เดลล์ในไทย
กฤตวิทย์ กฤตยเรืองโรจน์ ไม่เพียงแต่เป็นผู้จัดการฝ่ายการตลาดคนแรกของบริษัท เดลล์ คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จำกัด ที่จะรับหน้าที่ดูแลกลุ่มธุรกิจคอนซูเมอร์ นับตั้งแต่เดลล์เข้ามาเปิดธุรกิจคอมพิวเตอร์ในไทยตลอดระยะเวลา 11 ปีที่ผ่านมาเท่านั้น แต่เขายังเป็นผู้บริหารคนแรกที่จะมีบทบาทในการเปิดตลาดค้าปลีกคอมพิวเตอร์ของเดลล์ หลังจากที่เคยผูกรายได้ของตนเองไว้กับการขายยกโหลเข้าองค์กรเป็นหลักเท่านั้น
(Positioning Magazine ธันวาคม 2551)
บุกตลาดทั้งทีต้องมีหน้าร้าน
กลางเดือนตุลาคมที่ผ่านมา เดลล์ เปิดตัว Dell Concept Store แห่งแรกในไทยที่ห้างสรรพสินค้าเซียร์ รังสิต และจะเปิดเพิ่มอีก 4 แห่ง ทั้งไอทีมอลล์ และพันธุ์ทิพย์พลาซ่า นอกจากนี้ภายในสิ้นปีนี้ผู้บริหารของเดลล์ประกาศทิศทางชัดเจนจะเปิดตัวให้ได้ 10 แห่ง ก่อนจบที่ 50 แห่งทั่วประเทศภายในปีหน้า
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2551)