สามช่า แบรนด์ตลกเงินล้าน
สามช่าไม่ใช่แค่ดาราตลกของรายการชิงร้อยชิงล้านเท่านั้น พวกเขากลายเป็นแบรนด์ตลกที่แข็งแกร่งที่สุดเข้าถึงคนได้ทุกเพศทุกวัย จนเป็น Asset ที่มีค่าและสำคัญที่สุดของเวิร์คพอยท์ ศักยภาพไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในจอโทรทัศน์อีกต่อไป
(Positioning Magazine 9 กรกฎาคม 2553)
พลิกคัมภีร์ K-SME-LG จุดพลุแบรนด์ ด้วย Branded Content
ยิ่งกว่าโฆษณา มากกว่า Tie-in ต้องเป็น Branded Content เครื่องมือการตลาดของแบรนด์เงินหนา เดิมพันสูง กับ 2 กรณีศึกษา เคแบงก์ ปั้นแบรนด์ผ่านรายการ “เอสเอ็มอีตีแตก” ขึ้นแท่นเจ้าตลาดSME ส่วนแอลจี จุดพลุแบรนด์ด้วยเรียลลิตี้ปั้นศิลปิน “ล้านฝันสนั่นโลก” หวังให้ดังระดับ Talk of the town
(Positioning Magazine มีนาคม 2553)
“บิ๊กโชว์ บิ๊กเกมโรยสาระ” มาแรง!
ภาพของความบันเทิงในจอตู้ในปีหน้าจะเป็นเช่นใด? “ปัญญา นิรันดร์กุล” เจ้าของฉายาเจ้าพ่อเกมโชว์ มีคำตอบให้เห็นถึงความนิยมและสิ่งใหม่ๆ ในปีหน้า
(Positioning Magazine มกราคม 2550)
งานช้าง
รถบัส 2 คันโตกับผู้โดยสาร 100 กว่าชีวิต มุ่งหน้าสู่สตูดิโอของเวิร์คพ้อยท์ ย่านบางพูน ปทุมธานี ยืนยันได้ชัดเจนว่าแถลงข่าวงานนี้ระดับ ”ช้าง” จริงๆ
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2549)
น้องเดียว...มหัศจรรย์ปั้นเงินล้าน
มองให้ดี...นาทีแห่งอ้อมกอดของ “ปัญญา นิรันดร์กุล” ที่แสดงออกด้วยปฏิกิริยาต่อ “น้องเดียว” หรือเด็กชาย พัทธดนย์ เกลี้ยงจันทร์ เด็กอัจฉริยะผู้พิชิตแจ็กพอต 200 หน้าเกมทศกัณฑ์เด็ก... ลึกๆ ลงไปในอ้อมกอดนั้น ยังเป็นเหมือนอ้อมแขนทางลิขสิทธิ์ที่กำลังบอกกับใครต่อใครว่า...อย่านะ! นี่เด็กปั้นของฉัน
(Positioning Magazine กันยายน 2549)
เกมล้านสร้างแบรนด์
โอ้โห้! แจกเงินล้าน ใครๆ ก็นึกแปลกอกแปลกใจไม่ได้ว่า เหตุผลกลใด บริษัท บัตรกรุงไทย จำกัด (มหาชน) หรือ เคทีซี ยอมควักกระเป๋าแจกเงินล้านบาททุกๆ สัปดาห์ ในเกมโชว์อัจฉริยะข้ามคืน
(Positioning Magazine สิงหาคม 2549)
ปัญญา นิรันดร์กุล…เจ้าพ่อเกมโชว์
นิ้วโป้งและนิ้วชี้ของ “ปัญญา นิรันดร์กุล” ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของคำว่า “ถูกต้องนะ...คร้าบ” เคยมีอิทธิพลที่ทำให้แฟนรายการทีวีใช้เป็นมุก เลียนแบบกันสนั่นเมือง... ใช่แล้ว, ผู้ชายสวมแว่นหน้าตี๋ผู้นี้ เขาคือสัญลักษณ์ของเกมโชว์ วาไรตี้โชว์ และสารพัดโชว์ทางจอตู้ เป็นเจ้าของรายการทีวีมากถึง 1,121 ชั่วโมงต่อปี ไม่แปลกใจนักที่ใครๆ ยกย่องเขาว่า “เจ้าพ่อเกมโชว์” ในเมืองไทย
(Positioning Magazine กรกฎาคม 2549)
หม่ำ เท่ง โหน่ง ขุมทรัพย์ใต้ต่อมฮา
เสียงหัวเราะนี้ สะท้อนถึงภาพของตลก หม่ำ เท่ง เหน่ง โมเดลแก๊งสามช่าของเวิร์คพอยท์ ที่เปรียบเป็นสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้ นับเป็นสูตรและกรณีศึกษาครั้งสำคัญของการสร้าง Idol ทางธุรกิจเอนเตอร์เทนเมนต์ ผ่านดาวตลกคนดังได้อย่างโสภาสถาพร
(Positioning Magazine เมษายน 2549)
เวิร์คพอยท์ มาแว้ววว...สูตรขายเอนเตอร์เทนโรยสาระ
ถึงแม้ความดังของ “หม่ำ” จะไม่ใช่กระแสแรกเริ่มที่ทำให้เวิร์คพอยท์เห็นดีเห็นงามกับ การทำธุรกิจสำนักพิมพ์ แต่ดาราตลกเงินล้านคนนี้ ก็ทำให้ธุรกิจเอนเตอร์เทนเมนต์ของเวิร์คพอยท์ แตกไลน์สู่ความเป็นเวิร์คพอยท์ พับลิชชิ่ง ได้อย่างแข็งขัน และเป็นสื่อภาษาหนังสือเอนเตอร์เทนมาแรงแบรนด์หนึ่งที่มีของดีๆ ให้อวด
(Positioning Magazine ตุลาคม 2548)