“เวิร์คพอยท์” รสเกาหลี เรียกเสียงกรี๊ดวัยรุ่น
ถ้านึกถึงค่ายเวิร์คพอยท์ หลายคนนึกถึง “เสี่ยตา ปัญญา หม่ำ เท่ง โหน่ง ตุ๊กกี้” แต่แค่นี้ไม่พอ เพราะเวลานี้ “เสี่ยตา” อยากให้แฟนๆ รู้สึกว่าถ้านึกถึงคอนเทนต์บันเทิง “เกาหลี” ก็ขอให้นึกถึงค่าย “เวิร์คพอยท์” บ้าง
(Positioning Magazine 23 กุมภาพันธ์ 2555)
6 คำถาม สูตรสร้างงานเวิร์คพอยท์
ทุกๆ รายการมักเริ่มต้นด้วยคำถามที่ง่ายที่สุด แต่เมื่อถามแล้วต้องอธิบายคำตอบให้ได้ภายใน 2 ประโยค เพราะว่าปัจจุบันผู้ชมมีรีโมตในมือและมีทางเลือกรายการให้ชมหลากหลาย รูปแบบรายการจึงต้องทำให้เข้าใจได้ง่ายที่สุด
(Positioning Magazine 10 มกราคม 2555)
เรโซนาโชว์เดี่ยว ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ ซีซั่น 2
ได้รับทั้งเสียงด่า เสียงชม แต่ถ้าวัดกันด้วยเรตติ้งคนดู ถือว่าไปได้สวย ยูนิลีเวอร์ก็เลยตัดสินใจเป็น Advertiser Funded Program (AFP) ให้กับไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ เป็นซีซั่น 2 แต่คราวนี้เลือก “เรโซนา” เป็นสปอนเซอร์หลัก ภายใต้คอนเซ็ปต์ “แค่กล้าก็ชนะแล้ว”
(Positioning Magazine 17 ตุลาคม 2554)
ย้อนอดีต อัจฉริยะข้ามคืน เคทีซีปั้นไพรม์ไทม์ ได้โฆษณาเกินคุ้ม
“อัจฉริยะข้ามคืน” เรียลลิตี้พันธุ์ไทยแท้ เป็นอีกหนึ่งรายการ “เรียลลิตี้ เกมโชว์”ที่เกิดขึ้นมาจากการร่วมมือของเคทีซีและเวิร์คพอยท์ ท่ามกลางกระแสเรียลลิตี้ของไทยเมื่อ 4 ปีที่แล้ว กลายเป็นอีกหนึ่งกรณีศึกษาที่เคทีซียืนยันว่า ได้ทั้งแบรนด์และเงินลงทุน
(Positioning Magazine 14 มีนาคม 2554)
เคแบงก์ ตีแตก เอสเอ็มอี ปั้นแบรนด์จากห้องเรียนสู่แมสมีเดีย
มีทั้งรอยยิ้มและน้ำตาของเอสเอ็มอีหลังคำตัดสินของ 3 กรรมการ “แตกหรือไม่แตก” ให้ความรู้ทางธุรกิจ ผสมคอมเมนต์แบบดุเด็ดเผ็ดมัน กลายเป็นสีสันประจำรายการ “เอสเอ็มอีตีแตก” ที่ธนาคารกสิกรไทยควงคู่เวิร์คพอยท์ ผลิตออกมาเป็นรายการประจำ สร้าง Talk of the town ตีโจทย์ ถูกใจคนดู โดนใจเอสเอ็มอีได้แบรนด์ K-SME ไปเต็มๆ
(Positioning Magazine 14 มีนาคม 2554)
“เวิร์คพอยท์ ปั้นฝรั่งให้เป็นไทย
นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่รายการจากต่างประเทศถูกซื้อลิขสิทธิ์มาเพื่อผลิตและออกอากาศในเวอร์ชั่นไทย แต่กับ Thailand’s Got Talent นี่เป็นรายการชื่อดังแรกจากต่างประเทศที่ถูกซื้อลิขสิทธิ์และผลิตเพื่อเป็น Branded Content โดยมีจุดประสงค์หลักนอกเหนือจากการมอบความบันเทิงให้กับผู้ชมทางบ้าน ไม่ต่างจากรายการประเภทเกมโชว์ หรือการประกวดอื่นๆ
(Positioning Magazine 14 มีนาคม 2554)
Thailand’s Got Talent Real Brand Strategy in Reality Show
“รายการดังระดับโลก” “เจ้าพ่อเกมโชว์เมืองไทย” บวกด้วย “คอนซูเมอร์ยักษ์ใหญ่” 3องค์ประกอบนี้ จะกลายเป็นสูตรสำเร็จให้กับการเฉลิมฉลองเพื่อการก้าวสู่ปีที่ 80 ให้กับยูนิลีเวอร์ไทยได้หรือไม่ เป็นเรื่องท้าทายที่ยูนิลีเวอร์เดิมพันไปแล้วด้วยเงินลงทุนไม่ต่ำกว่า200 ล้านบาท
(Positioning Magazine 14 มีนาคม 2554)
ตกตะกอนความคิด “จิก-ประภาส ชลศรานนท์”
การเป็นนักคิดของประภาสไม่ได้ทำให้เขาทะนงตัวมากขึ้นกว่าเดิม แต่ยังคงยอมรับความคิดเห็นคนอื่นเสมอในทุกครั้งที่สร้างสรรค์งาน และเขามักบอกกับ Creative ในเวิร์คพอยท์ว่า อย่ามองว่าแปลกแล้วต้องดี แต่เมื่อชิมแล้วต้องชอบ และต้องให้หลายคนชอบด้วย
(Positioning Magazine มกราคม 2554)
ตีแตกกลยุทธ์ “เคแบงก์ SME” กวาด Mass บุกลอยัลตี้โปรแกรม
“เอสเอ็มอีตีแตก” ที่ตีโจทย์แตกจนสามารถหุ้มรายการทีวีได้อย่างแนบเนียน ออนแอร์ผ่านไป 8 เดือน กำลังกลายเป็น Success Story Case ที่งบประมาณ 100 ล้านบาทที่ทุ่มลงไปบรรลุเป้าหมายทั้งการได้แบรนด์ และได้ผลสำเร็จทางธุรกิจ ในการรุกตลาดกลุ่ม Mass ของธุรกิจกลุ่มเอสเอ็มอี
(Positioning Magazine ตุลาคม 2553)
แก๊งสามช่า ต่อยอดมหกรรมความฮา
ไปยังธุรกิจบันเทิงอื่นๆ โดยเฉพาะภาพยนตร์ ที่ปีหนึ่งแต่ละคนรับแสดงไม่เกิน 2 เรื่อง เพราะไม่อยากให้ช้ำเกินไป โดยหากมีหม่ำ เท่ง โหน่ง ร่วมแสดงด้วยล่ะก็ การันตีรายได้ได้เลยว่าไม่มีทางต่ำกว่า 50 ล้านแน่นอน
(Positioning Magazine กรกฎาคม 2553)