Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ9  
Positioning3  
ผู้จัดการรายวัน85  
ผู้จัดการรายสัปดาห์14  
PR News1369  
Web Sites2  
Total 1468  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก.


PR News Network (411 - 420 of 1369 items)
การค้า-การลงทุน-ท่องเที่ยว ไทย-ญี่ปุ่น : อาจฟื้นตัวปลายปี 2552 เศรษฐกิจญี่ปุ่นที่ชะลอตัวรุนแรงจากปัจจัยขับเคลื่อนสำคัญด้านภาคส่งออกที่หดตัวรุนแรงในช่วง 2 เดือนสุดท้ายของปี 2551 ส่งผลกระทบมายังภาคส่งออกของไทยไปญี่ปุ่นให้ชะลอลงตามไปด้วยโดยเฉพาะสินค้าส่งออกประเภทยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 13 กุมภาพันธ์ 2552)
แนวโน้มผลิตภัณฑ์กุ้งปี ’52 : ตลาดส่งออกซบเซา คาดว่าการส่งออกผลิตภัณฑ์กุ้งในปี 2552 ลดลงเหลือ 340,000-350,000 ตัน มูลค่า 2,150 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เมื่อเทียบกับปี 2551 ส่งผลกระทบอย่างมากต่ออุตสาหกรรมกุ้งทั้งระบบ ตั้งแต่เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง โรงเพาะฟัก โรงงานผลิตอาหารกุ้ง ห้องเย็น โรงงานแปรรูป และผู้ส่งออกกุ้ง(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 13 กุมภาพันธ์ 2552)
อุตฯ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ไทยปี 52: ส่งออกลด เลิกจ้างเกือบ 1 แสนคน ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่าอัตราการเติบโตของการส่งออกอิเล็กทรอนิกส์มีแนวโน้มที่จะติดลบค่อนข้างมาก โดยมูลค่าตลาดอาจลดลงประมาณร้อยละ 15-20 สาเหตุจากการลดลงของอุปสงค์ต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าและสินค้าไอทีซึ่งเป็นผลมาจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 13 กุมภาพันธ์ 2552)
แนวโน้มอุตสาหกรรมจีนปี 2552 ชะลอตัว ... กระทบส่งออกไทยไปจีน ศูนย์วิจัยกสิกรไทย เห็นว่า นักธุรกิจไทยในจีนและนักธุรกิจไทยที่ส่งออกสินค้าไปจีนในปัจจุบัน อาจต้องเผชิญการแข่งขันในจีนที่สูงขึ้นเนื่องจากความต้องการสินค้าสำหรับการผลิตและการบริโภคในจีนอ่อนแรงตามภาวะเศรษฐกิจจีนที่ซบเซาอย่างน้อยจนถึงกลางปี 2552 จึงเป็นการยากลำบากที่จะขยายตลาดในจีนในสถานการณ์ปัจจุบัน(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 13 กุมภาพันธ์ 2552)
เศรษฐกิจซบเซา...คนกรุงฯปรับพฤติกรรมการบริโภคสินค้าอาหาร บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด สำรวจ“พฤติกรรมการบริโภคสินค้าอาหารของคนกรุงเทพฯ” พบว่าคนกรุงเทพฯที่เป็นกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 44.0 คาดว่ารายได้มีแนวโน้มลดลงปรากฎว่าอาชีพข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจซบเซาน้อยกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่มอาชีพอื่นๆ ส่วนอาชีพที่เผชิญผลกระทบอย่างมาก คือ พนักงานบริษัทหรือลูกจ้าง(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 13 กุมภาพันธ์ 2552)
แนวโน้มกิจการสหกรณ์ออมทรัพย์ปี 2552 : หนี้เพิ่ม ออมลด กระทบสภาพคล่อง ปัญหาเงินเฟ้อและราคาสินค้าที่ถีบตัวสูงขึ้นในช่วงต้นปี 2551 รวมถึงการปรับลดต้นทุนการดำเนินงานของภาคธุรกิจเพื่อรับมือภาวะเศรษฐกิจและกำลังซื้อที่ลดลงในปี 2552 คาดว่าจะส่งผลให้สมาชิกส่วนใหญ่อาจมีความสามารถในการออมลดลง สวนทางกับความต้องการสินเชื่อที่มีแนวโน้มปรับเพิ่มขึ้นอีกในปีนี้(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 10 กุมภาพันธ์ 2552)
อัตราเงินเฟ้อเดือนมกราคมเข้าสู่แดนลบเป็นครั้งแรกในรอบกว่า 9 ปี ศูนย์วิจัยกสิกรไทย เห็นว่า ทางการไม่ควรปล่อยให้สภาวะเงินเฟ้อติดลบนี้ส่งผลลบในทางจิตวิทยา จนกระทบต่อความเชื่อมั่นของภาคเอกชนมากยิ่งขึ้นไปอีก โดยควรเร่งดำเนินการทั้งมาตรการการเงินและการคลัง เพื่อลดความกังวลของประชาชนและภาคธุรกิจในด้านการใช้จ่ายและการลงทุน โดยแนวโน้มเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่ำน่าจะเอื้ออำนวยให้ธนาคารแห่งประเทศไทยยังสามารถดำเนินนโยบายการเงินที่ผ่อนคลายลงต่อไปได้อีกระยะหนึ่ง(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 5 กุมภาพันธ์ 2552)
เศรษฐกิจไทยปี 2552 อาจขยายตัวเพียง 0.0%-1.2% … จากแนวโน้มเศรษฐกิจภูมิภาคหลักของโลกที่อาจเผชิญความถดถอยลงลึกและยาวนานกว่าที่คาด ทำให้แรงกระแทกที่ส่งผ่านมาสู่เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มรุนแรงมากยิ่งขึ้น โดยปัญหาเศรษฐกิจโลกดังกล่าวจะส่งผลกดดันให้สภาวะการส่งออกที่หดตัวลงในอัตราตัวเลขสองหลักจะยังคงดำเนินต่อเนื่องในเดือนถัดๆ ไป(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 3 กุมภาพันธ์ 2552)
ตัวเลขเศรษฐกิจล่าสุดเดือนธันวาคม 2551 ของธปท. ... บ่งชี้ภาวะหดตัวเป็นประวัติการณ์ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า เศรษฐกิจไทยในปี 2552 อาจขยายตัวเพียงร้อยละ 1.5 ซึ่งเป็นอัตราการขยายตัวที่ต่ำกว่าระดับศักยภาพ เทียบกับที่คาดว่าอาจจะขยายตัวต่ำกว่าร้อยละ 3.0 ในปี 2551(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 3 กุมภาพันธ์ 2552)
อุตสาหกรรมการบินปี 52 ... ชะลอตัวต่อเนื่อง ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่าจำนวนผู้โดยสารในปี 2552 จะมีประมาณ 49-52 ล้านคน หดตัวประมาณร้อยละ 5-10 เป็นการหดตัวต่อเนื่องจากปีก่อนที่หดตัวประมาณร้อยละ 4.8 โดยภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวยังเป็นปัจจัยกดดันสำคัญ(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 3 กุมภาพันธ์ 2552)

Page: ..41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 ..





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us