Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article

industry
company
people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ248  
Positioning44  
ผู้จัดการรายวัน435  
ผู้จัดการรายสัปดาห์131  
PR News522  
Total 1249  

Listed Company
Manager Lists
 
Industry > Economics


PR News Network (101 - 110 of 522 items)
รัฐประศาสนศาสตร์ นิด้า หวั่นนโยบายกระตุ้นศก.ได้ผลไม่เต็มที่ ระบุประชาชนขยาดใช้จ่าย-แห่ออม กวิชาการคณะรัฐประศาสนศาสตร์ นิด้า วิพากษ์มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ หวั่นนโยบายลดหย่อนภาษี-แจกเงินมนุษย์เงินเดือนไม่เหมาะกับสถานการณ์ เหตุประชาชนยังไม่เชื่อมั่น ฉุดนโยบายรัฐได้ผลไม่เต็มที่ แนะรัฐเร่งโครงการลงทุนเมกะโปรเจ็คท์ ควบคู่กับนโยบายการเงิน เชื่อไตรมาส 3 เห็นดอกเบี้ยนโยบายเหลือ 1%(มาสเตอร์ มายด์ คอมมิวนิเคชั่นส์, บจก. 19 มกราคม 2552)
นักวิชาการชี้ชัดเศรษฐกิจอาเซียนเหลื่อมล้ำสูง แนะผนึกความร่วมมืออย่างจริงจังดึงดูดเงินลงทุน นิด้าจัดสัมมนาผ่ากลยุทธ์การค้าการลงทุนอาเซียนชี้แนวทางความสำเร็จกลุ่มอาเซียน ต้องมีปัจจัยรองรับที่ครบวงจร เพื่อเอื้ออำนวยต่อการลงทุนต่อเนื่อง ย้ำชัดต้องการเทคโนโลยีและความร่วมมืออย่างจริงจัง ขณะที่อุปสรรคสำคัญอยู่ที่ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ และการส่งสินค้าสู่ตลาดที่กลายเป็นคู่แข่งกันเอง(มาสเตอร์ มายด์ คอมมิวนิเคชั่นส์, บจก. 12 มกราคม 2552)
ม. หอการค้าไทย จัดสัมมนาวิชาการระดับชาติ “UTCC Academic Week” ระหว่างวันที่ 12-16 มกราคม 2552 งานนี้ระดมนักวิชาการ อาจารย์ ตัวแทนจากภาครัฐและเอกชน ร่วมเสวนาในหัวข้อ “เศรษฐกิจไทยภายใต้รัฐบาลใหม่ จะฟื้นหรือฟุบ?” เข้าฟังโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย(พีอาร์พีเดีย, บจก. 8 มกราคม 2552)
อัตราเงินเฟ้อแนวโน้มครึ่งแรก ปี 2552 อาจเป็นตัวเลขติดลบ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า ในช่วงครึ่งแรกของปี 2552 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ในช่วงระหว่างลดลงร้อยละ 1.7 ถึงร้อยละ 0.9 (-1.7 ถึง -0.9) เนื่องจากคาดว่าราคาน้ำมันและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกจะคงอยู่ในระดับต่ำ ท่ามกลางแนวโน้มเศรษฐกิจโลกถดถอย แต่มีแนวโน้มที่เงินเฟ้อจะกลับมาสูงขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 8 มกราคม 2552)
เงินฝืดญี่ปุ่น … บทเรียนในการแก้วิกฤตเศรษฐกิจ ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบายจากบทเรียนในอดีตของญี่ปุ่นเมื่อเผชิญกับภาวะวิกฤตนั้น ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จึงประเมินได้ว่า องค์ประกอบของการฟื้นเศรษฐกิจที่ประสบความสำเร็จนั้น น่าที่ประกอบด้วย การดำเนินนโยบายการเงินที่ผ่อนคลายด้วยการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงอย่างรวดเร็วและมากพอ เพื่อดูแลความเสี่ยงด้านเศรษฐกิจที่มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นชัดเจน(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 8 มกราคม 2552)
ตัวเลขเศรษฐกิจล่าสุดเดือนพฤศจิกายนของธปท. ตอกย้ำความเสี่ยงภาวะถดถอยของเศรษฐกิจไทย ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า เศรษฐกิจไทยอาจต้องเผชิญกับภาวะถดถอยทางเทคนิค เศรษฐกิจไทยในไตรมาส 4/2551 อาจหดตัวลงร้อยละ 1.4 คาดการณ์ว่า ธปท.อาจมีความจำเป็นต้องดำเนินนโยบายการเงินไปในเชิงที่ผ่อนคลายลงอีกในระยะถัดไป โดยเฉพาะในช่วงครึ่งแรกของปี 2552(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 6 มกราคม 2552)
ปัญหาการว่างงานปี’ 52 อาจทำให้กำลังซื้อหายไปไม่ต่ำกว่า 13,000 ล้านบาท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ได้ประมาณการผลกระทบกรณีมีการว่างงาน 1 ล้านคน ในไตรมาสแรกของปีหน้า เนื่องจากมีบัณฑิตจบใหม่ และเฉลี่ยทั้งปี 6.75 แสนคน จะทำให้การบริโภคของกลุ่มแรงงานดังกล่าวน่าจะลดลงอย่างน้อยประมาณ 1.3 หมื่นล้านบาท หรือร้อยละ 0.6 ของการบริโภคภาคเอกชนในปี 2552(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 26 ธันวาคม 2551)
สมาคมนักวิเคราะห์ฯ แนะรัฐบาลใหม่ลดภาษีและดูแลผู้ตกงาน นักวิเคราะห์สมาชิกของสมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ยังคงปรับลดประมาณการตัวเลขทางเศรษฐกิจสำคัญใหม่ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจปี 52 เหลือ 0.7% ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ ณ ปลายปี 52 เหลือ 547 จุด แนะนำรัฐบาลใหม่ลดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหรือภาษีมูลค่าเพิ่ม เร่งการใช้จ่ายและโครงการลงทุนภาครัฐ กระตุ้นการท่องเที่ยว รวมถึงเร่งสร้างเสถียรภาพทางการเมือง(สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ 26 ธันวาคม 2551)
ภารกิจรัฐบาลใหม่ ... เรียกคืนความเชื่อมั่น ผลักดันนโยบายแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่านายกรัฐมนตรีและรัฐบาลชุดใหม่ จะก้าวเข้ามาบริหารประเทศในภาวะที่เศรษฐกิจไทยเผชิญความยากลำบาก ประเด็นสำคัญนับจากนี้ รัฐบาลจะต้องสร้างความมั่นคงทางการเมืองและความน่าเชื่อถือของรัฐบาล เพื่อเป็นพื้นฐานให้รัฐบาลสามารถเข้ามาแก้ปัญหาหนักที่รออยู่หลายด้านให้มีความคืบหน้า(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 18 ธันวาคม 2551)
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดปาฐกถาพิเศษ “ทางออกธุรกิจไทย…ฝ่าวิกฤตการเงินโลก” โดยได้รับเกียรติจากคุณปกรณ์ มาลากุล ณ อยุธยา ประธานคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นองค์ปาฐก ได้สรุปต้นเหตุของวิกฤตการณ์ทางการเงินโลก (Global financial perfect storm) ไว้ 3 ประการ คือ การดำเนินนโยบายที่ผิดพลาด ความหย่อนยานในการกำกับดูแลตลาดการเงินและความโลภ(พีอาร์พีเดีย, บจก. 8 ธันวาคม 2551)

Page: ..11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 ..





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us