Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article

industry
company
people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ183  
Positioning169  
ผู้จัดการรายวัน29  
ผู้จัดการรายสัปดาห์25  
PR News26  
Total 407  

Listed Company
Manager Lists
 
Industry > Political and Government


PR News Network (1 - 10 of 26 items)
เลือกตั้งเยอรมนีปี 2009...ผลต่อการส่งออกของประเทศไทย ผลการเลือกตั้งทั่วไปของเยอรมนีเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2552 ที่ผ่านมาเป็นไปตามความคาดหมาย เมื่อนางแองเกลา แมร์เคิล สามารถกลับเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนีได้เป็นสมัยที่สองติดต่อกัน จากผลงานของรัฐบาลเยอรมนีที่ออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยเฉพาะมาตรการช่วยเหลืออุตสาหกรรมยานยนต์ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมหลักของประเทศจนสามารถทำให้เศรษฐกิจเยอรมนีขยายตัวร้อยละ 0.3 (QoQ) ในช่วงไตรมาส 2(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. )
เคทีซีรุกหนัก “บัตรเคทีซีเพื่อหน่วยงานรัฐ” ร่วมธนาคารกรุงไทยสร้างฐานลูกค้าภาครัฐกว่า 67 องค์กรตอกย้ำผู้บุกเบิกบัตรรายแรกในไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มอบ 3 สิทธิพิเศษด้านการเดินทางและจัดอบรมสัมมนาในประเทศ พร้อมทริปสัมมนาการพัฒนาระบบการจ่ายเงินในต่างประเทศและรางวัลมากมายสำหรับ 30 หน่วยงานรัฐที่ใช้จ่ายผ่านบัตรสูงสุด(บัตรกรุงไทย, บมจ. )
รัฐประศาสนศาสตร์ นิด้า หวั่นนโยบายกระตุ้นศก.ได้ผลไม่เต็มที่ ระบุประชาชนขยาดใช้จ่าย-แห่ออม กวิชาการคณะรัฐประศาสนศาสตร์ นิด้า วิพากษ์มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ หวั่นนโยบายลดหย่อนภาษี-แจกเงินมนุษย์เงินเดือนไม่เหมาะกับสถานการณ์ เหตุประชาชนยังไม่เชื่อมั่น ฉุดนโยบายรัฐได้ผลไม่เต็มที่ แนะรัฐเร่งโครงการลงทุนเมกะโปรเจ็คท์ ควบคู่กับนโยบายการเงิน เชื่อไตรมาส 3 เห็นดอกเบี้ยนโยบายเหลือ 1%(มาสเตอร์ มายด์ คอมมิวนิเคชั่นส์, บจก. 19 มกราคม 2552)
ภารกิจรัฐบาลใหม่ ... เรียกคืนความเชื่อมั่น ผลักดันนโยบายแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่านายกรัฐมนตรีและรัฐบาลชุดใหม่ จะก้าวเข้ามาบริหารประเทศในภาวะที่เศรษฐกิจไทยเผชิญความยากลำบาก ประเด็นสำคัญนับจากนี้ รัฐบาลจะต้องสร้างความมั่นคงทางการเมืองและความน่าเชื่อถือของรัฐบาล เพื่อเป็นพื้นฐานให้รัฐบาลสามารถเข้ามาแก้ปัญหาหนักที่รออยู่หลายด้านให้มีความคืบหน้า(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 18 ธันวาคม 2551)
ศึกชิงผู้ว่าฯ กทม.ปี 51: เม็ดเงินสะพัด 1,000 ล้านบาท ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่าจะมีเม็ดเงินสะพัดประมาณ 1,000 ล้านบาท (รวมเงินการจัดการเลือกตั้ง 154 ล้านบาท) ซึ่งเป็นจำนวนที่ใกล้เคียงกับศึกชิงผู้ว่า กทม.ในปี 2547 จาก 3 ลักษณะ ดังนี้ 1.เม็ดเงินหาเสียงแบบเจาะลึก 2.เม็ดเงินหาเสียงทางตรง 3.เม็ดเงินหาเสียงล่วงหน้า(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 2 ตุลาคม 2551)
เลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพมหานคร : เม็ดเงินหาเสียงผ่านสื่อสิ่งพิมพ์...ชะลอตัวจากเลือกตั้งครั้งก่อน การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในครั้งนี้ ทำให้ธุรกิจสิ่งพิมพ์มีงานเข้ามาเสริม ในช่วงที่ธุรกิจสิ่งพิมพ์กำลังเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงกดดันหลายประการ ซึ่งทำให้การขยายตัวของธุรกิจสิ่งพิมพ์ในช่วงครึ่งหลังของปี 2551 มีแนวโน้มชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับช่วงครึ่งแรก(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 29 กันยายน 2551)
ประเมินผลกระทบจากสถานการณ์ทางการเมืองต่อเศรษฐกิจไทย ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า การขยายตัวของเศรษฐกิจไทยน่าจะอยู่อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในปี 2551 นี้ ลงมาที่ร้อยละ 3.6-5.0 ผลจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจในช่วงครึ่งปีหลัง เนื่องจากผลกระทบจากปัญหาทางการเมือง คาดว่าประเทศไทยอาจสูญเสียรายได้การท่องเที่ยวจากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในช่วงเดือนกันยายน ประมาณ 9,000-15,000 ล้านบาท(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 12 กันยายน 2551)
ท่องเที่ยวครึ่งหลังปี’51 : ผลกระทบจากความรุนแรงของเหตุการณ์ชุมนุม รายได้ที่คาดว่าบรรดาธุรกิจด้านการท่องเที่ยวจำนวนมาก ที่กระจายอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศไทย มีแนวโน้มจะสูญเสียไปในช่วงครึ่งหลังของปี 2551 เม็ดเงินส่วนใหญ่ คือ ประมาณร้อยละ 28 หรือคิดเป็นมูลค่าประมาณ 10,000-20,000 ล้านบาทเป็นรายได้ที่คาดว่าธุรกิจด้านที่พักสำหรับนักท่องเที่ยว ได้แก่ โรงแรม และรีสอร์ตจะสูญเสียไป(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 11 กันยายน 2551)
การเลือกตั้งไต้หวัน: ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติ (สส.) ที่เพิ่งผ่านพ้นมาเป็นเพียงสัญญาณการเริ่มต้นสำหรับความสัมพันธ์อันดีระหว่างไต้หวัน-จีน ซึ่งอาจทำให้แนวโน้มการลงทุนและธุรกิจ ไต้หวัน-จีนไปในทิศทางที่ดีขึ้น อีกทั้งยังอาจส่งผลเชื่อมโยงด้านบวกต่อไทยโดยเฉพาะด้านการส่งออกสินค้าในหมวดเกษตร อาหาร และวัตถุดิบไปยังไต้หวัน(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 22 มกราคม 2551)
กฎหมายและนโยบายทางการเงิน...โจทย์สำคัญที่รัฐบาลใหม่ไม่ควรมองข้าม รัฐบาลใหม่ต้องเร่งพลิกฟื้นความเชื่อมั่น ซึ่งอาจนำมาสู่การตัดสินใจเชิงนโยบายต่างๆ ที่สำคัญ โดยเฉพาะนโยบายด้านการเงินและอัตราแลกเปลี่ยนที่กำลังอยู่ในกระแสวิพากษ์วิจารณ์อยู่ในปัจจุบัน ทั้งนี้ โจทย์ด้านนโยบาย ที่อาจถือเป็นหนึ่งในการบ้านสำคัญของรัฐบาลใหม่ คือ การปรับปรุงร่าง พ.ร.บ.เงินตรา การยกขีดความสามารถของระบบสถาบันการเงินไทย(ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บจก. 27 ธันวาคม 2550)

Page: 1 | 2 | 3





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us