ศึกคูปองโลตัส-บิ๊กซียก 2
นับตั้งแต่โลตัสฉวยจังหวะชุลมุน ระหว่างบิ๊กซีจัดทัพเพื่อกลืนคาร์ฟูร์ให้กลายเป็นเนื้อเดียวกัน ด้วยการลอนช์แคมเปญ “ยินดีต้อนรับลูกค้าคาร์ฟูร์ด้วยใจ” โดยมีเงื่อนไขว่าสามารถนำคูปองคาร์ฟูร์ มาเพิ่มมูลค่า 2 เท่า จาก 80 บาท เป็น 160 บาท เพื่อเกทับแคมเปญบิ๊กซีผนึกคาร์ฟูร์ที่ระบุว่าเมื่อซื้อสินค้าครบ 800 บาท จะได้รับคูปองส่วนลดมูลค่า 80 บาท
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 8 มีนาคม 2554)
เซ็นทรัล vs กาสิโน ชิงดำคาร์ฟูร์
นักวิเคราะห์ฟันธง คู่ชิงบิ๊กดีลคาร์ฟูร์ * เซ็นทรัล-กาสิโน 2 แคนดิเดตตัวจริง * บีเจซี โอกาสร่วงสูง เหตุไร้ประสบการณ์ * ส่วน ปตท.โดนรัฐเบรกเกมเสิร์ฟ
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 25 กันยายน 2553)
ชำแหละเกมดิสเคานต์สโตร์ เบื้องหลังคาร์ฟูร์พ่ายสมรภูมิไทย
เหตุผลสำคัญที่สุดคือเรื่องของการขยายสาขาที่คาร์ฟูร์เดินเกมผิดตั้งแต่ก้าวแรกที่มองการขยายธุรกิจแบบคอนเซอร์เวทีฟ คือการมองการเติบโตแบบค่อยเป็นค่อยไปไม่เร่งรีบ ทำให้คู่แข่งทั้ง เทสโก้ โลตัส และบิ๊กซี เร่งขยายสาขาจนครอบคลุมโลเกชั่นดีๆ และทำให้สามารถต่อรองราคากับซัปพลายเออร์ได้มากกว่าห้างร้านที่มีสาขาน้อยๆ อย่างไรก็ดี คาร์ฟูร์ เพิ่งจะเริ่มขยับตัวมากขึ้นในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา โดยมีแผนที่จะขยายสาขาปีละ 4-5 สาขา จากเดิมที่วางแผนขยายสาขาไว้เพียงปีละ 1-2 สาขาเท่านั้น ทว่าสายเกินไปเสียแล้ว
(ASTVผู้จัดการรายสัปดาห์ 23 กรกฎาคม 2553)
ศึกลอยัลตี้การ์ด ชิงฐานลูกค้า เพิ่มความถี่ เพิ่มปริมาณซื้อ
- ค้าปลีกพลิกโฉม จากสงครามราคาสู่สมรภูมิรบ CRM
- เซ็นทรัล vs เดอะมอลล์ ฟัดกันนัว หมัดต่อหมัด
- บิ๊กซี คาร์ฟูร์ ปรับโปรโมชั่นบัตรสู้ คลับ การ์ด ของ เทสโก้ โลตัส
- ชิงนักชอปขาประจำ สร้างความถี่ เพิ่มบาสเกตไซส์
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 21 กันยายน 2552)
บิ๊กซี อัดแคมเปญเงินผ่อน กระตุ้นยอดสินค้าชิ้นใหญ่
บิ๊กซีเดินแคมเปญทางการเงิน กระตุ้นการจับจ่ายสินค้าชิ้นใหญ่ที่มีราคาแพง หลังผู้บริโภคใช้จ่ายอย่างระมัดระวัง ซื้อแต่ของจำเป็น เลื่อนการซื้อของชิ้นใหญ่ไม่ว่าจะเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือเฟอร์นิเจอร์ ยอดโตลดลง ประกอบกับไม่มีมหกรรมกีฬาระดับโลก ทำตลาดทีวีซบ
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 24 สิงหาคม 2552)
BigC ซดกินตลาดบู๊ท วัตสัน ส่ง Pure รุกตลาดสุขภาพและความงาม
นอกจาก House Brand ที่เป็น "ตัวผลิตภัณฑ์" Modern Trade ยักษ์อย่าง BigC ได้เริ่ม House Brand ที่เป็น "ร้านค้าปลีกเฉพาะทาง" (Specialty Store) แล้ว ปลายเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ได้เปิดร้านค้าปลีก Pure by Big-C (เพียว บาย บิ๊กซี)
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 14 มกราคม 2551)
บิ๊กซี G4 อัพอิมเมจ ครีเอตแวลู
สงครามค้าปลีกคงไม่มีสนามรบใดรุนแรงไปกว่าดิสเคานต์สโตร์ในเวลานี้ เพราะนอกจากจะต้องแข่งขันกันเองแล้ว ยังต้องแข่งกับบรรดายี่ปั๊วซาปั๊วที่ใส่แรงกดดันให้ภาครัฐหันมาคุ้มครองธุรกิจของคนไทย แม้จะมีแนวทางเกี่ยวกับการควบคุมการขยายตัวของห้างยักษ์ใหญ่ แต่บรรดาดิสเคานต์สโตร์ต่างก็มีการปรับตัวจากรูปแบบสาขาที่เป็นไฮเปอร์มาร์เก็ต ไปสู่การซอยย่อยเป็นสาขาเล็กๆ เช่น เทสโก้ โลตัส มีทั้งตลาดโลตัสที่เป็นซูเปอร์มาร์เกตเล็กๆในเมือง และร้านคุ้มค่าเพื่อจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคทั่วไปในต่างจังหวัด และยังมีโลตัสเอ็กซ์เพรสที่ใช้พื้นที่เพียง 300 ตารางเมตรก็สามารถขยายกระจายเข้าสู่ชุมชนได้ ซึ่งไม่ได้กระทบแค่โชวห่วยเท่านั้น เพราะแม้แต่ร้านสะดวกซื้ออย่างเซเว่นอีเลฟเว่นยังได้รับผลกระทบไปด้วย
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 3 ธันวาคม 2550)
กลยุทธ์การตลาด:ร้านเฮาส์แบรนด์ Leader Price ไยไม่สำเร็จ
"บริษัทฯ มีแผนที่จะปรับเปลี่ยนร้าน "ลีดเดอร์ไพรซ์" บายบิ๊กซี ทั้งหมดที่มี 5 สาขา ให้เป็นร้านมินิบิ๊กซีทั้งหมด ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการศึกษาและเตรียมการทั้งรูปแบบและวิธีการดำเนินงาน คาดว่าจะสามารถสรุปได้ภายในสิ้นปีนี้" จริยา จิราธิวัฒน์ รองประธานฝ่ายการตลาดและการสื่อสาร บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) เผย
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 25 มิถุนายน 2550)
บิ๊กซี สร้างลอยัลตี้ ปะทะ โลตัส โรลแบ็ค
บิ๊กซี ประกาศสร้างแบรนด์ลอยัลตี้ด้วยกลยุทธ์ด้านราคา หวังชิงความเป็นผู้นำกับโลตัสที่เปิดแคมเปญโรลแบ็ครอบใหม่ภายใต้คอนเซ็ปต์ People's Choice ซึ่งมีการนำสินค้ากว่า 800 รายการมาลดราคาลงอีก 7%
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 13 มีนาคม 2549)