ศึกลิสซิ่งรถยนต์ระอุสารพันเงื่อนไขดันยอดขายทะลุเป้า
-บริษัทรถยนต์แห่งเปิดลิสซิ่งของตนเอง หวังใช้เป็นอาวุธหลักถล่มคู่แข่งช่วงยอดขายขาลง
-โตโยต้า เปิดลิสซิ่งกดดาวน์ลงเหลือ 5% ส่วนนิสสันไปตกสุดท้ายเปิดลิสซิ่งสู้ พร้อมใช้ระบบไอทีเพิ่มความรวดเร็ว
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 พฤษภาคม 2549)
ยนตรกิจดันเกียฝ่าพงหนามตลาดรถนั่งเล็ก
-เกีย PICANTO- RIO ปฏิบัติการชิมรางฟื้นตลาดรถนั่งเกาหลีในเมืองไทย
-ยนตรกิจหวั่นปัจจัยด้านราคาอาจทำให้แข่งขันรถญี่ปุ่นลำบาก เหตุไม่มีไลน์ผลิตในประเทศ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 3 มีนาคม 2549)
สร้างความเชื่อมั่นจากตลาดส่งออก
หลังรุกตลาดรถปิกอัพเมืองไทยมาแล้ว มิตซูบิชิ มอเตอร์ส ประเทศไทย ก็ได้ฤกษ์ส่งมิตซูบิชิ ไทรทัน ออกบุกตลาดต่างประเทศ ซึ่งเป็นตลาดใหญ่ที่สุดของมิตซูบิชิ และเป็นช่องทางที่มิตซูบิชิทำตลาดจนประสบความสำเร็จอย่างมากในช่วง 17 ปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะในปิกอัพรุ่น สตราด้า ที่สามารถทำยอดขายจากการส่งออกได้รวมถึง 600,000 คัน จากรถยนต์มิตซูบิชิที่ส่งออกจากประเทศไทยทั้งหมด 800,000 คัน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 13 มีนาคม 2549)
เชฟโรเลต เซอร์ไพรซ์! ขึ้นแท่นเบอร์4มอเตอร์เอ็กซ์โป
-เชฟโรเลตสร้างปรากฏการณ์ม้านอกสายตา ขึ้นแท่นเบอร์4ยอดจองมอเตอร์เอ็กซ์โป
-เหตุลูกค้ามั่นใจในผลิตภัณฑ์ แบรนด์ และราคาอะไหล่ที่ไม่แพง รวมถึงความสำเร็จของแคมเปญการตลาด
-เตรียมส่งซัพคอมแพ็กต์ เอวีโอ ชนฮอนด้า โตโยต้า
(ผู้จัดการายสัปดาห์ 19 ธันวาคม 2548)
เต็นท์รถมือสองหวั่น กฎใหม่ปปง.ป่วนลูกค้า
-ผู้ประกอบการรถยนต์มือสองคาดได้รับผลกระทบเต็มๆ หากต้องแจ้งซื้อขายรถราคาเกินล้าน
-เหตุลูกค้าไม่มั่นใจข้อมูลซื้อขายจะรั่วไปที่อื่นหรือไม่ แม้จะเป็นเจตนาดีแต่ยอดขายตกแน่
-แนะรัฐจี้เต็นท์รถที่มีหลายพันรายใช้ะบบภาษีมูลค่าเพิ่มอย่างจริงจัง หรือไม่ก็ขึ้นทะเบียนในอนุญาตค้าของเก่าให้ครบทุกราย
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 21 พฤศจิกายน 2548)
ยุทธ์ศาสตร์ใหม่แลนด์โรเวอร์ พุ่งเป้าจับกลุ่มLUXURYเป๋าตุง
-วงในชี้แลนด์โรเวอร์กำลังอยู่ระหว่างปรับตัว ไม่เน้นเพิ่มตัวแทนจำหน่ายแต่มุ่งขายรถราคาสูงเป็นหลัก
-คาดเร็วๆ นี้ ทั้งแลนด์โรเวอร์ วอลโว่ และจาร์กัวร์มีโอกาสอยู่ในโชว์รูมเดียวกันตามนโนบายพีเอจีของฟอร์ด
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 11 พฤศจิกายน 2548)
“Budget”เปิดแนวรุกตลาดรถเช่าหมื่นล้าน
-เม็ดเงินกว่า 1.2 หมื่นล้านบาทที่หมุนเวียนในแต่ละปีของธุรกิจรถเช่า ต่างยั่วน้ำลายผู้ประกอบการทั้งไทยและเทศเป็นยิ่งนัก การแข่งขันเพื่อขอเข้าไปมีส่วนแบ่งทางการตลาดกับธุรกิจนี้จึงมีค่อนข้างสูง
-ขณะที่ภาวะทางเศรษฐกิจผันผวน ราคาน้ำมันที่ถีบตัวสูงขึ้น ส่งผลทำให้พฤติกรรมการซื้อรถใช้เองลดน้อยลงไปและเปลี่ยนหันไปใช้บริการรถเช่าที่มีมากกว่า 8 หมื่นคันแทน
-ว่ากันว่า อัตราการเติบโตของตลาดรถเช่าจะเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละประมาณร้อยละ 10
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 28 ตุลาคม 2548)
ตลาดปราบเซียน
สิ้นปี พ.ศ.2547 ยอดจำหน่ายรถยนต์รวมทุกชนิดของประเทศไทย อยู่ที่ประมาณ 620,000 คัน และมีการพยากรณ์กันว่าปี พ.ศ.2548 นี้ อัตราการเติบโตของยอดจำหน่ายจะอยู่ที่ระดับ ร้อยละ 5 ถึง ร้อยละ 7 หรือมีการจำหน่ายรถยนต์เพิ่มขึ้นประมาณ 31,000 คัน ถึง 43,000 คัน เท่ากับว่ายอดจำหน่ายรถยนต์รวมทุกชนิดของปี พ.ศ.2548 นี้จะอยู่ระหว่างตัวเลข 651,000 คัน ถึง 663,000 คัน โดยที่ผมเองปัดให้เป็นตัวเลขกลมๆเพิ่มไปเป็น 670,000 คันด้วยซ้ำไป
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 20 ตุลาคม 2548)
บิ๊กค่ายรถรวมหัวตรึงสินเชื่อเช่าซื้อรถ ค่ายรถเล็กอ่วมแบกต้นทุนต่อถึงสิ้นปี
มีการประเมินมูลค่าตลาดรวมของสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ไม่ต่ำกว่า 500,000 ล้านบาท โดยจากข้อมูล ณ 30 มิ.ย. 2548 แบ่งเป็นการให้สินเชื่อโดยบริษัทเงินทุนทั้งระบบ 205,920 ล้านบาท ในจำนวนนี้กว่า 80% เป็นของเจ้าตลาดรายใหญ่ 3 อันดับแรก ได้แก่ ธนชาต 102,911 ล้านบาท ทิสโก้ 42,433 ล้านบาท และเกียรตินาคิน 21,218 ล้านบาท ส่วนที่เหลือจึงกระจายไปยังบริษัทเงินทุนอื่น
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 30 กันยายน 2548)