Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article

industry
company
people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ104  
Positioning3  
ผู้จัดการรายวัน613  
ผู้จัดการรายสัปดาห์49  
PR News321  
Total 1041  

Listed Company
Manager Lists
 
Industry > Investment > Funds


ผู้จัดการรายสัปดาห์ (41 - 49 of 49 items)
เซียนการเงินแนะเลี่ยงภัยการเมือง "ฝากแบงก์-กองทุนรวม"เลือกให้ดี กองทุนรวมกลายเป็นอีกหนึ่งทางเลือกหลังตลาดหุ้นซบ จากการเมืองยังระอุ ออกแบบโดนใจจ่ายดอกคืนทุก 3 เดือน ดอกเบี้ยรับสุทธิ 4.625% ไม่ต้องเสียภาษี 15% เหมือนฝากแบงก์ นักการเงินแนะผู้มีเงินออมได้เปรียบเลือกให้เหมาะ(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 13 กุมภาพันธ์ 2549)
กองทุนหุ้นอเบอร์ดีนทะยาน รับอานิสงส์January Effect กองทุนหุ้นอเบอร์ดีนรับอานิสงส์ January Effect ผลการดำเนินงานสวยหรูกันถ้วนหน้า หลังดัชนีปรับตัวทะลุ 700 จุดตั้งแต่ต้นปี "อเบอร์ดีนโกรท" ยังโดดเด่นไม่เลิก ผลตอบแทนย้อนหลัง 3 เดือนเฉียด 10% ขณะที่กองทุนอื่นยังตามมาติดๆ(ผู้จัดการรายวัน 10 มกราคม 2549)
"กองทุนMFC"จัดทัพรบนอกบ้าน ทิ้งคัมภีร์"MSCI"แลกผลตอบแทนตลาดเกิดใหม่ กองทุนลงทุนในต่างประเทศ (FIF) ของ "บลจ.เอ็มเอฟซี" ที่เคลื่อนทัพออกรบนอกบ้านก่อนหน้านั้น 2 กอง ถือเป็นการส่งเงินไปขนเอาเงินตราต่างประเทศเข้าบ้านที่ไม่ค่อยหวือหวาสักเท่าไร หากเทียบกับกองใหม่ "กองทุนเปิดเอ็มเอฟซี โกลบอล อัลฟ่า ฟันด์" หรือ "เอ็มจีเอ" ที่คาดกันว่าจะมีโอกาสสร้างผลตอบแทนเหนือเบนช์มาร์กคือ "ดัชนี เอ็มเอสซีไอ"ที่เปรียบเหมือน "คัมภีร์" ลงทุนนอกประเทศ สำหรับนักลงทุนประเทศต่างๆ(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 28 ตุลาคม 2548)
ไอเอ็นจีบุกเมืองการศึกษาอีสาน ออกกองทุนอสังหาฯหอพักนศ. "กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์" ที่เปิดตัวไปก่อนหน้านั้นส่วนใหญ่ จะครอบคลุมถึงโรงแรม เซอร์วิสอพาร์ทเมนต์ ศูนย์สรรพสินค้าขนาดใหญ่ อาคารสำนักงานให้เช่า อาคารห้องชุดหรูหรา และโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งหมดกระจายตัวอยู่ใจกลางเมืองหลวง แต่สำหรับบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน(บลจ.)ไอเอ็นจี เลือกที่จะเปิดกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์หอพักนักศึกษาใจกลางจังหวัดมหาสารคามเป็นแห่งแรกในช่วงปลายปีนี้(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 28 ตุลาคม 2548)
"บลจ.ฟินันซ่า"ชวนโกอินเตอร์ ถอดใจดอกผลต่ำชนะเงินเฟ้อยาก ผู้จัดการกองทุน "ฟินันซ่า" ประเมินช่วง 6-12 เดือนจากนี้ อัตราดอกเบี้ยที่พุ่งทะยาน ผสมกับราคาน้ำมันที่ดีดตัวสูง จะกดดันกำไรบริษัทจดทะเบียน(บจ.) และผลตอบแทนจากการลงทุน ผสมโรงกับนักลงทุนต่างชาติยังมองตลาดหุ้นไทยไซส์เล็ก ตื้นและแคบ โอกาสแกว่งตัวจึงสูง เงินจากเฮดจ์ฟันด์จึงเข้าออกเร็วไม่ยืนยาว ล่าสุดคลอดกองทุนลงทุนในต่างประเทศ ชวนนักลงทุนขนเงินไปหาดอกผลในต่างประเทศ หลังถอดใจลงทุนในประเทศผลตอบแทนต่ำ ชนะเงินเฟ้อลำบาก(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 13 ตุลาคม 2548)
SCBLT3 ความท้าทายในตลาดเอ็มเอไอ นับย้อนไปเกือบปี บลจ.ไทยพาณิชย์ เป็นเจ้าแรก ๆ ที่ประกาศออกมาว่าสนใจลงทุนในตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ ด้วยเห็นโอกาสว่าบริษัทจดทะเบียนในตลาดดังกล่าวมีอัตราการเติบโตสูงน่าจะสร้างผลตอบแทนจากการลงทุนได้ดี ขณะเดียวกันก็เพิ่มช่องทางให้ผู้ถือหน่วยได้ตัดสินใจลงทุนในทางเลือกใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น จึงเป็นที่มาของกองทุนเปิดไทยพาณิชย์หุ้นระยะยาว เอ็มเอไอ (SCBLT3)(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 6 ตุลาคม 2548)
ยูโอบีสิงคโปร์ลบภาพบีโอเอ ปั้นแบงก์ยูไนเต็ดโอเวอร์ซีส์ ยูไนเต็ดโอเวอร์ซีส์ (ยูโอบี) สถาบันการเงินสายเลือดสิงคโปร์ หลังเข้ามาดำเนินธุรกิจภายใต้ชื่อ ยูโอบีรัตนสิน (ยูโอบีอาร์) เป็นเวลาเกือบ 7 ปี ก็เตรียมประกาศแบรนด์ และความเป็นตัวตนอย่างแท้จริงในสนามแข่งขันธุรกิจการเงินไทย โดยหลังทำแผนควบรวมกิจการระหว่างบีโอเอและ ยูโอบีอาร์ แล้วเสร็จ จะล้างภาพเดิมทิ้งทันที ส่วนแผนการดำเนินงานแม้จะยังไม่ชัดเจนในเวลานี้แต่ก็ประกาศพร้อมเป็นยูนิเวอร์แซลแบงกิ้ง(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 30 กันยายน 2548)
ถามหานักลงทุนเมกะโปรเจ็กต์ กังวลผลตอบแทนอาจไม่คุ้มค่า นายแบงก์ตั้งคำถาม ใคร?...จะเป็น "ผู้ลงทุน"ปล่อยเงินกู้ให้กับโครงการขนาดใหญ่ "เมกะโปรเจ็กต์" ที่ต้องใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 30 ปี จึงจะได้เงินต้นและดอกเบี้ยคืนจนครบ ขณะที่แบงก์มีกำลังปล่อยกู้ได้ในเวลาจำกัดเพียง 10-15ปี ที่ปรึกษาต่างชาติคาดการออกพันธบัตรที่มีต้นทุนต่ำ โครงการต้องน่าสนใจ มีความชัดเจนในการดำเนินการ คืบหน้าอย่างรวดเร็ว จึงจะคลายความกังวลนักลงทุนได้...(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 22 กันยายน 2548)
USวางหมากกันไม่ให้'กองทุนการเงินเอเชีย'แจ้งเกิด เมื่อชาติเอเชียทำท่าจะเป็นอิสระเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สหรัฐฯก็กำลังผลักดันให้กองทุนการเงินระหว่างประเทศ(ไอเอ็มเอฟ) เปลี่ยนแปลงระบบการออกเสียง เตรียมยอมเพิ่มอำนาจต่อรองให้ชาติซึ่งมีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจมากขึ้นทุกทีเหล่านี้ โดยผู้สังเกตการณ์บางรายชี้ว่า นี่คือหมากกลล้ำลึกของวอชิงตันที่จะผูกมัดชาติเหล่านี้เอาไว้ ให้ยังคงอยู่ในองค์การโลกบาลทางการเงินแห่งนี้ ซึ่งถึงอย่างไรตนเองก็มีเสียงครอบงำเด็ดขาด(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 16 มิถุนายน 2548)

Page: 1 | 2 | 3 | 4 | 5





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us