มองเอนทรานซ์จีน ระบบจัดการศึกษาต้องคำนึงความจริงสังคม
ระบบการศึกษาในจีนไม่ต่างจากไทยในอดีต ฝึกนักเรียนพันวันเพื่อการสอบครั้งเดียว รัฐแบ่งสถาบันการศึกษาเป็นชั้นให้เหมาะกับระดับความสามารถแก้ปัญหาแห่เข้ามหาวิทยาลัยดัง นักศึกษาชี้แม้ก่อให้เกิดความเครียดสะสมอย่างยิ่งยวด แต่ก็ยังเป็นระบบที่มีทั้ง “ความยุติธรรมและเป็นธรรมอย่างที่สุด”
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 6 พฤษภาคม 2548)
อุดมศึกษาไทย "เนื้อหอม" นศ.จีนรุมจีบศึกษาตรี-โท
ไทยเฮ ตลาดการศึกษาจีนคึกคัก กระแสนร.-นศ.จีน สนใจบินศึกษาต่อเมืองไทย สำนักฯอุดมศึกษาไทย เผยผลสำเร็จการจัดงานวิชาการที่ยูนนาน กลางเดือน มี.ค. ที่ผ่านมา ไทยเนื้อหอมสุดๆ จุดขายของไทย เน้นถูกแต่มีคุณภาพ ขณะที่การเดินทางจีน-ไทย ใกล้แสนใกล้ เป็นเหตุผลที่ไทยได้รับความนิยม เด็กจีนแจ้งความสนใจอยากเรียนเมืองไทย โดยเฉพาะสาขาบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และวรรณกรรมภาษาไทย
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 1 เมษายน 2548)
มังกรปั้นฝันการศึกษาไร้พรมแดน ดันไทยเปิดตลาดสานร.ร.พี่-น้อง
การศึกษาจีน เข้าสู่ยุค "โลกไร้พรมแดน" รัฐบาลมังกร เร่งสานสัมพันธ์ โครงการโรงเรียนพี่-โรงเรียนน้อง กับนานาชาติ ตั้งเป้าไทยเป็นหนึ่งภูมิภาคอาเซียน แลกเปลี่ยนนักเรียน นักศึกษา และจุดแข็งทางวิชาการร่วมกัน แนะไทย เปิดแผนการตลาด ทางการศึกษา มุ่งหลักสูตร MBA จุดพลุ ดึงนศ.จีนบินมาเรียนไทย
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 17 ธันวาคม 2547)
มหาวิทยาลัยห้องแถวขายปริญญา?? สถาบันระดับชาติออสซี่ก็เป็นกับเขาด้วย
เมื่อนักศึกษามาเลเซีย 15 คน ลอกบทความจากอินเทอร์เน็ตไปเขียนรายงานส่งอาจารย์เมื่อปลายปี 2002 พวกนั้นคงไม่ทราบหรอกว่า ได้เปิดยุคแห่งความเสียหายที่หมิ่นเหม่จะถึงขั้นที่เป็นการทำลายชื่อเสียงความน่าเชื่อถือของอุตสาหกรรมการศึกษาแห่งออสเตรเลีย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การศึกษาส่วนที่เป็นการตั้งวิทยาเขตสาขาในต่างแดน ซึ่งเป็นเสี้ยวส่วนที่กำลังเฟื่องฟูและทำรายได้เป็นกอบเป็นกำให้แก่นานาสถาบันการศึกษาระดับชาติของประเทศยิ่งใหญ่แห่งซีกโลกใต้
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 ตุลาคม 2547)