Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article

industry
company
people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ272  
Positioning48  
ผู้จัดการรายวัน411  
ผู้จัดการรายสัปดาห์76  
PR News462  
Total 1193  

Listed Company
Manager Lists
 
Industry > Banking and Finance

Subcategories
Banking
Financing


ผู้จัดการรายสัปดาห์ (31 - 40 of 76 items)
กสิกรฯฟุ้งเบี้ยปีแรกโต145%หันรุกประกันแบบสะสมทรัพย์ กสิกรไทยเผยรายได้จากการขายประกันผ่านแบงก์พุ่งกระฉูดสวนทางเศรษฐกิจชะลอ ล่าสุดไตรมาสแรกกวาดเบี้ยประกันรับปีแรกถึง 600 ล้านบาท หรือขยายตัวเพิ่มขึ้น 145%ขยับมาร์เก็ตแชร์อยู่อันดับ 2 ในธุรกิจขายประกันผ่านแบงก์ มั่นใจปีนี้จะกวาดเบี้ยประกันปีแรกได้ถึง 2,000 ล้าบาท จากฐานลูกค้าใหม่ 5 หมื่นราย พร้อมเดินหน้ารุกขายประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์มากขึ้น(ผู้จัดการรายวัน 26 มิถุนายน 2550)
"SCIB Family"เปิดบ้านแบงก์ชฎาผูก5ธุรกิจลบภาพซูเปอร์มาร์เก็ตไฟแนนซ์ เวลาเพียง 2 เดือนสำหรับ ซีอีโอและเอ็มดีคนล่าสุดของ "ธนาคารนครหลวงไทย"... "ชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์"... ได้ถ่ายทอดคอนเซ็ปท์การตลาดที่ค่อนข้างชัดเจนเกี่ยวกับ "SCIB Family"บ้านหลังใหม่ ที่รวมเอา 5 ธุรกิจในเครือมาผูกเป็นเป้าหมายการสร้างโอกาสและรายได้ จากลูกเล่นการตลาดที่เจ้าของบ้านคนใหม่บอกว่า "จะเอาบันเทิง มาเป็นคอนเซ็ปท์การตลาด" ทำให้ภาพ "ซูเปอร์มาร์เก็ตไฟแนนซ์" ก่อนหน้านั้นกำลังจะเลือนหายไปจากความทรงจำ...(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 11 มิถุนายน 2550)
โศกนาฏกรรม“แบงก์ทหารไทย”ผู้ถือหุ้น “พิฆาต”บอร์ดบริหาร คงสุดทนกับแผนบริหารจัดการ“แบงก์ทหารไทย”ที่ไม่เคยสักครั้งสร้างผลตอบแทนให้ผู้ถือหุ้น ถึงกับทำให้รายย่อยเกิดอาการบันดาลโทสะระเบิดอารมณ์กลางเวทีประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประหนึ่งการลงดาบหวังผลทำลายล้างบอร์ดบริหารที่ปฏิบัติงานไม่ได้ดั่งใจ ผลงานขาดทุนสะสมอย่างไรก็เป็นเช่นนั้นไม่เปลี่ยนแปลง แม้จะมีกำไรจากการดำเนินงานแต่ยังไม่มากพอยาไส้ แถมแผนล้างหนี้ยังถูกตีกลับ ยิ่งทวีความไม่พึงใจให้รายย่อย(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 7 พฤษภาคม 2550)
หุ้นกลุ่มแบงก์เด่น รับเทรนด์ดอกเบี้ยขาลง หุ้นกลุ่มแบงก์แฮปปี้รับช่วงดอกเบี้ยขาลง โบรกฯ ประเมินบัวหลวงเริงร่าสุด เหตุได้โชค 2 ชั้น ทั้งจากราคาพันธบัตรที่ปรับตัวสูงขึ้น และการเป็นธนาคารขนาดใหญ่แห่งเดียวที่ลดแต่ดอกเบี้ยเงินฝากโดยไม่ลดดอกเบี้ยเงินกู้ลงตาม แม้จะมีดอกเบี้ยรับที่ลดลงแต่ก็มีดอกเบี้ยจ่ายที่ลดลงด้วย หักลบกลบกันแล้วก็ยังคงได้ประโยชน์สูงสุดอยู่ดี(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 มีนาคม 2550)
"ไทยเครดิต" แบงก์ไซส์เล็กแบ๊คใหญ่ การเปิดบ้านใหม่ของ "ธนาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่อย (ธย.)" ซึ่งเป็นสาขาแรกภายในตัวตึก "ไทยประกันชีวิต" เมื่อสองสัปดาห์ก่อน นอกจากจะสื่อสารไปถึงผู้คนทั่วไปให้รับรู้เกี่ยวกับตัวแบงก์ใหม่ลำดับที่ 16 ที่ต้องการเข้าถึงลูกค้าระดับกลางถึงล่างอย่างจริงจัง ส่วนสำคัญที่มองข้ามไปไม่ได้ก็คือ กลุ่มทุนที่อยู่เบื้องหลัง หรือตระกูล "ไชยวรรณ"(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 มีนาคม 2550)
ฤดูกาลเปิดท้ายขาย "เอ็นพีเอ" "แบงก์" โละสต็อกบ้านมือสอง ชมรมสินทรัพย์รอการขายของธนาคารพาณิชย์ ขนสินทรัพย์รอการขายกว่า 10,000 รายการ มูลค่ากว่า 50,000 ล้านบาท มาขายในงาน "มหกรรมบ้าน ธนาคาร'50" ซึ่งถือเป็นอีกงานที่ว่ากันว่ามีบ้านดีราคาถูกจาก 12 สถาบันการเงินที่พร้อมขายโละให้ผู้สนใจในราคาพิเศษ ปลุกตลาดบ้านมือ 2 สนองคนอยากมีบ้าน(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 มีนาคม 2550)
"เอ็กซิมแบงก์"เวทีนี้ไม่มีพี่เลี้ยง ประคององค์กรฝ่ามรสุมการเงิน เมื่อถึงจุดที่"เอ็กซิมแบงก์"ต้องเติบโตขึ้นไปอีกขั้น การเพิ่มทุนจึงเป็นแผนงานของแบงก์...ที่ประทับตราไว้บนหัวกระดาษว่า"ด่วนมาก"นั่นเพราะแบงก์แห่งนี้ต้องการทุนเพื่อต่อลมหายใจอีกเฮือก เงินส่วนนี้วางไว้เพื่อขยายธุรกิจ และขับเคลื่อนผู้ประกอบการภาคส่งออกให้เข้มแข็งตามที่รัฐปรารถนา แต่ด้านฟากกระทรวงการคลังในบทพี่เลี้ยงกลับไม่แสดงท่าทีตอบรับแผนเพิ่มทุน ผลจากความไม่ชัดเจนทำให้ "เอ็กซิมแบงก์"ต้องอยู่คนที่เอาตัวรอดไปวัน ๆ ประคองกายไม่ให้ล้มด้วยเงินทุนที่เหลืออย่างจำกัดต่อการดำเนินธุรกิจ(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 กุมภาพันธ์ 2550)
เศรษฐกิจซบเซาแต่ภาคการเงินไม่เซื่องซึมสมรภูมิช่วงชิงฐานลูกค้ารายย่อยยังดุเดือด เศรษฐกิจที่มีกลิ่นอายของความเซื่องซึมมิได้ลดอุณหภูมิการแข่งขันของภาคการเงินให้เย็นลงแต่ประการใด...ความร้อนแรงดุเดือดในการช่วงชิงส่วนแบ่งตลาดโดยเฉพาะฐานลูกค้ารายย่อยยังดำเนินต่อไปภายใต้โอกาสที่ไม่เอื้ออำนวยนัก แต่ถึงกระนั้นทุกสถาบันต่างไม่ยอมลดราวาศอกให้คู่แข่งเข้ามาช่วงชิงเค้กของตน....(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 กุมภาพันธ์ 2550)
"ธอส."ฉีกภาพ"แบงก์ข้าราชการ"ยกเครื่ององค์กรขึ้นเทียบชั้นเอกชน ไม่ใช่เรื่องง่ายนักที่ "ธนาคารอาคารสงเคราะห์"(ธอส.) จะสลัดคราบความเป็น"แบงก์ข้าราชการ" ขึ้นไปยืนเทียบเคียง "แบงก์เอกชน"ได้ จะว่าด้วยสถานะที่ต่างกันก็ไม่เชิง โดยเฉพาะในเรื่องการให้บริการที่แบงก์ยุคใหม่นี้ถือเป็นไม่เด็ดของการแข่งขันเลยทีเดียว เทียบกับ"ธอส."แล้วก็ไม่ต่างจากเต่าที่ไล่ตามกระต่าย ซึ่งนั่นหมายความว่า หากเต่ายังไม่ลดละความพยายาม...สักวันคงตามทันและอาจก้าวนำไปข้างหน้าได้ ส่วนตอนนี้เต่าจะมีชะตากรรมอย่างไร....คงต้องขึ้นอยู่กับ "ขรรค์ ประจวบเหมาะ"(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 5 กุมภาพันธ์ 2550)
ปรากฏการณ์"ออมสิน"สีบานเย็นพิฆาตกลยุทธ์เหนือชั้นชิงเงินฝากด้วย"สลาก" ความแรงของ "สลากออมสิน"อาจเรียกได้ว่าเป็นปรากฏการณ์สำคัญที่สร้างสีสันให้วงการธุรกิจการเงิน เห็นได้จากยอดการจำหน่ายสลากในงวดที่มีแคมทเปญพิเศษเป็นเครื่องล่อใจ ดึงเม็ดกว่า 2.5 หมื่นล้านบาทเข้าแบงก์ ซึ่งความเป็นจริงแล้วไม่ง่ายเลยสักนิดที่จะเรียกเม็ดเงินจำนวนมหาศาลได้มากมายขนาดนี้ในระยะเวลาที่จำกัด ปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นสะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของออมสินในยุคสี "บานเย็น" โดยเฉพาะนโยบายการตลาดที่หวือหวาเปลี่ยนไปจากอดีตที่ผ่านมาค่อนข้างมาก(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 มกราคม 2550)

Page: 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us