การตลาด360องศาสไตล์วิธิตามัดใจวัยทีนด้วยคาแรกเตอร์E-Comic
เผยโมเดลสร้างคาร์แรกเตอร์E-Comic ไม่เน้นรายละเอียดสูงเท่าแอนนิเมชั่นผ่านฟรีทีวี แต่ต้นทุนการนำแบรนด์การ์ตูนให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้าใกล้เคียงกัน งานนี้จึงเป็นการขยายฐายให้กว้างขึ้นครอบคลุมทั้งเด็กเล็กและวัยรุ่น โดยยังอิงสร้างพันธมิตรร่วมทำตลาดเติบโตไปด้วยกัน
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 16 สิงหาคม 2553)
K-Pop ผงาด เกาหลีพันธุ์แรงแซง J-POP
- ถอดรหัสปรากฏการณ์ความดัง ดงบังชินกิ ถึง วันเดอร์เกิร์ล
-ไทยแลนด์ ตลาดบริโภคอันดับ 1 K-Pop
-สินค้าอยากโตแบบแรงและเร็วต้องพึ่งยาบันเทิงสายพันธุ์เกาหลี
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 22 มิถุนายน 2552)
ทัพการ์ตูนบุกตลาดไทยเปิดศึกสินค้าไลเซนซิ่งหมื่นล้าน
- ตลาดสินค้าไลเซนซิ่งคาแรกเตอร์การ์ตูนหมื่นล้านถึงจุดเดือด
- ยกกองทัพการ์ตูนญี่ปุ่น อเมริกัน เดินหน้าเจาะตลาดเมอร์ชันไดส์
- สร้างเทรนด์กลยุทธ์กระตุ้นตลาดแนวใหม่ ยุคเศรษฐกิจซบเซา
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 1 ธันวาคม 2551)
แกรมมี่ วาดแผนเจาะเอเชีย ตอ.ขนลูกทุ่ง-ป๊อป-สตริง ลุยญี่ปุ่นยันอินโดฯ
ความสำเร็จของศิลปินนักร้องจากเกาหลี ไม่ว่าจะเป็น เรน ดงบังชินกิ หรือซูเปอร์จูเนียร์ ที่สามารถนำเสียงเพลงที่เป็นภาษาของตน ไปสร้างความโด่งดังในประเทศอื่นๆ ทั่วทั้งภูมิภาค ตั้งแต่ญี่ปุ่น ไต้หวัน จีน ฮ่องกง ลงมาถึงประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ได้ ถือเป็นมิติใหม่ของตลาดเพลง โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ที่แสดงให้เห็นว่า วันนี้ตลาดเพลงไม่มีพรหมแดน เพียงแต่ค่ายเพลงสามารถสร้างศิลปินที่มีผลงานโดนใจ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย วางกลยุทธ์การตลาดให้ถูกต้องกับตลาดในแต่ละประเทศ ศิลปินนักร้องจากประเทศหนึ่งก็สามารถครองใจผู้ฟังในอีกประเทศได้ไม่ยาก
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 3 พฤศจิกายน 2551)
อิมเมจิน VS มีเดีย เน็ตเวิร์ก แนวรบรอบใหม่ตลาดบันเทิงในบ้าน
ตลาดโฮมเอนเตอร์เทนเมนต์ยังไม่ดับ แม้รายใหญ่ทยอยถอดใจ แต่อิมเมจินสวนทางพร้อมบุก ปรับโพสิชั่นนิ่งให้เป็น วัน สต็อบ เซอร์วิส โฮม เอนเตอร์เทนเมนต์ จับมือเทสโก้ โลตัส เดินหน้าขยายสาขา ด้านกลุ่มเมเจอร์ผนึกกำลังสร้างความแข็งแกร่งดันแบรนด์ มีเดีย เน็ตเวิร์ก ครองตลาดภายใน 2 ปี
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 15 กันยายน 2551)
โรส มีเดียฯ พลิกวิกฤติสู่โอกาสยุคดิจิตอลสวมบทเจ้าคอนเทนต์แอนิเมชั่น มุ่งสู่ MAI
การเคลื่อนขบวนของเทคโนโลยีจากโลกแห่งอนาล็อก สู่ยุคดิจิตอล เปลี่ยนแปลงไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิตของผู้คนที่สร้างผลกระทบต่อธุรกิจเอนเตอร์เทนเมนต์อย่างมหาศาล ในประเทศไทย 2 ค่ายเพลงไทยยักษ์ใหญ่ต้องปรับตัวเอง ใช้เวลาช่วงใหญ่หาจุดยืน จนค่ายหนึ่งต้องหนีไปหาคอนเทนต์ที่ตนเองไม่เคยมีความชำนาญ และยังหาทางกลับสู่ความรุ่งเรืองเหมือนอดีตไม่ได้ ค่ายเพลงอินเตอร์ที่ยืนหยัดอยู่ในเมืองไทยมายาวนานอย่าง อีเอ็มไอ ปิดตัวเองลง เช่นเดียวกับร้านค้าปลีกหัวนอก ซีดีแวร์เฮ้าส์ ขณะที่ผู้ที่เคยยิ่งใหญ่ในธุรกิจโฮมเอนเตอร์เทนเมนต์ เคยก้าวเข้าไประดมทุนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งแมงป่อง หรือซีวีดี ต่างก็พยายามปรับองค์กรเพื่อความอยู่รอด ห่างจากความยิ่งใหญ่ในวันวานอยู่ไกล
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 30 มิถุนายน 2551)
แกรมมี่หวังธุรกิจดิจิตอลเติมพลังตั้งเป้าเป็นสัดส่วนกำไร50%
จากเพลงยุคที่บันทึกบนแถบแม่เหล็กในรูปของเทปคลาสเซต สู่ยุคของการขายแผ่นซีดี และล่าสุดก็มาถึงยุคของไฟล์ดิจิตอลไม่ว่าจะเป็น เอ็มพี3 หรือ ไอพอด ทำให้ผู้ที่อยู่ในธุรกิจนี้ต้องมีการปรับตัวให้ทันต่อความต้องการของยุคสมัยผู้บริโภค
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 17 มีนาคม 2551)