ปริญสิริฉวยนโยบายรัฐพลิกผัน ลุยซื้อที่ดินราคาถูกเข้าสต็อก
ท่ามกลางความสับสนวุ่นวายของนโยบายการลงทุนโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนของภาครัฐว่าจะยังยืนนโยบายเดิมที่วางไว้ตั้งแต่ก่อนการหาเสียงเลือกตั้ง หรือจะปรับเปลี่ยนแผนการลงทุนหลังจากที่ได้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมคนใหม่ พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล หรือเฮียเพ้ง
ความสับสนวุ่นวายในช่วงนั้น ทำให้บรรยายกาศการลงทุนของนักลงทุนทั้งในและต่างประเทศในช่วงนั้นเสียสูญทันที เพราะเริ่มไม่เชื่อมั่นในนโยบายการบริหารจัดการประเทศของรัฐบาลแล้ว
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 12 ธันวาคม 2548)
แลนด์ฯ มั่นใจครองตำแหน่งเจ้าตลาด ไม่หวั่นทุนข้ามชาติรุกอสังหาฯเมืองไทย
*"อนันต์" มองการลงทุนระยะยาว พร้อมวางแผนตั้งรับกลุ่มทุนต่างชาติ
*ชูนโยบายขยายการลงทุนในธุรกิจแบบครบวงจร เดินหน้าลุยธุรกิจแบงก์รองรับลูกค้าโครงการ
*ฟันธงตลาดอสังหาฯ ปี 49 ยังไม่ถึงจุดอิ่มตัว ระบุเมกะโปรเจกต์กระตุ้นอสังหาฯ ปลุกทำเลที่อยู่อาศัยโซนใหม่
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 5 ธันวาคม 2548)
เปิดยุทธศาสตร์เพอร์เฟค รวดเร็ว แม่นยำ ไม่ย่ำรอยเดิม
*"ชายนิด โง้วศิริมณี" เจ้าของฉายาแมวเก้าชีวิต ประกาศยุทธศาสตร์การลงทุน เน้นคล่องตัว ปรับเปลี่ยนแผนอย่างรวดเร็ว หากสถานการณ์เปลี่ยนแปลง
*ตะลุยสร้างบ้านทุกเซกเมนท์ ตั้งแต่ 1-10 ล้านบาทขึ้นไป หวังกินรวบตลาดกลางล่างยันตลาดบน
*ปูพรมโครงการ" เมโทร พาร์ค" คอนโดมิเนียมระดับกลาง ย่านสาทร
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 24 พฤศจิกายน 2548)
“คิว-เฮ้าส์”ตกที่นั่งเสือลำบาก จำใจทำบ้านหรูคุมภาพลักษณ์
“อนันต์ อัศวโภคิน”บอสใหญ่วงการอสังหาริมทรัพย์วางหมากธุรกิจบ้านจัดสรร โดยการแบ่งแยกตลาดออกจากกันอย่างชัดเจนระหว่าง 3 บริษัทในเครือที่ดำเนินธุรกิจพัฒนาที่ดิน “แลนด์ฯ-คิว เฮ้าส์-เอเชี่ยนฯ” กำหนดจุดยืน “แลนด์ฯ” ทำโครงการเจาะลูกค้าระดับกลาง “คิว-เฮ้าส์”เน้นตลาดบ้านหรู ด้าน “เอเชี่ยนฯ” เจาะตลาดบ้านกลางกรุง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 24 พฤศจิกายน 2548)
เมโทร พาร์ค หัวหอกบุกตลาดคอนโด
"พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค" ชูเมโทร พาร์คหัวหอกบุกตลาด คอนโดมิเนียมระดับกลาง ราคา 1-2 ล้านบาท ก่อนบุกตลาดสร้างชุมชนเมืองขนาดใหญ่ 4,000 ยูนิต ย่านสาทร ถนนกัลปพฤกษ์ บนพื้นที่ 85 ไร่ มูลค่า 7,000 ล้านบาท
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 24 พฤศจิกายน 2548)
ทัพกลุ่มทุนต่างชาติบุกไทย เล็งกวาดตลาดอสังหาฯระดับบน
*นักวิชาการชี้จุดเปลี่ยนอสังหาฯเข้าสู่ยุคการแข่งขันระดับสากล
*ระบุแนวโน้มกลุ่มทุนข้ามชาติรุกตลาดอสังหาฯไทยปลายสมัยรัฐบาลทักษิณ2
*กลุ่มทุนสิงคโปร์-จีน-ฮ่องกง จีบนักลงทุนท้องถิ่น หวังกินรวบจัดสรรแนวสูงเจาะกลุ่มไฮ เอนด์ ย่านซีบีดี
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 17 พฤศจิกายน 2548)
เปิดวิสัยทัศน์ “แคปปิตอลแลนด์” อิงสัมพันธ์นักการเมืองรุกอสังหาฯ
การเข้ามาเปิดตลาดอสังหาฯ ในไทยของกลุ่มทุนข้ามชาติมีให้เห็นมาหลายปีแล้ว แต่เริ่มชัดเจนมากขึ้นในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา และส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มทุนจากสิงคโปร์ ซึ่งขยายการลงทุนเข้ามาในไทย เพราะพื้นที่ลงทุนในประเทศเหลือน้อย โดยในช่วง 10-20 ปีที่ผ่านมาสิงคโปร์มีการพัฒนาพื้นที่ไปเป็นจำนวนมาก
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 17 พฤศจิกายน 2548)
บสก.กรุยทางสู่นักพัฒนามืออาชีพ เล็งทำบ้านจัดสรรขายแข่งเอกชน
บสก.กรุยทางสู่นักพัฒนาที่ดินเต็มตัว หลังสั่งสมประสบการณ์จากการเรียกเก็บหนี้ ขายบ้านและทาวน์เฮาส์มานานถึง 7 ปี นำร่องจัดสรรที่ดินเปล่าย่านสุวรรณภูมิ บนพื้นที่ 20 ไร่ ส่วนแผนปี 49 ตั้งเป้าเก็บหนี้ 8,500 ล้านบาท
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 11 พฤศจิกายน 2548)
บ้านหรูขยายตัวรับสุวรรณภูมิ
*จัดสรรรายใหญ่ไม่หวั่นกำลังซื้อบ้านแพงหด
*ลุยโครงการหรูตั้งแต่รอบสุวรรณภูมิ ยันชลบุรี พัทยา และระยอง รับกำลังซื้อเจ้าของกิจการ พนักงานสายการบิน
*ด้านรายเล็กปรับตัวหนีตาย หันแบ่งพื้นที่เช่า ป้องกันความเสี่ยงหากยอดขายอืด
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 10 พฤศจิกายน 2548)
นักลงทุนเชื่อมั่นเศรษฐกิจภูเก็ตระยะยาว แห่ขึ้นบ้านจัดสรร130โครงการกว่า5พันล้าน
"สึนามิ" ไม่ทำให้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ภูเก็ตสะเทือน โดยปีที่ผ่านมายังมีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่อง เพียงปีเดียวโครงการเกิดกว่า 130 โครงการ ทั้งที่ตั้งเป้าขายคนไทยและบ้านหรูขายต่างชาติ มูลค่าลงทุน 5,000-6,000 ล้านบาท จากนักลงทุนเชื่อมั่นการขยายตัวเศรษฐกิจ และธุรกิจบ้านจัดสรรในภูเก็ตในระยะยาว ขณะที่สำนักงานที่ดินภูเก็ตเก็บค่าธรรมเนียมได้กว่า 1,000 ล้านบาท
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 10 พฤศจิกายน 2548)