เปิดแผนชิงผู้นำท่องเที่ยวอาเชียนปูพรมพร้อมไล่บี้อัดแคมเปญเพียบ!...
กลยุทธ์ Synergy of Asean : Towards Dynamic Unity in Diversity ผนึกกำลังชาติอาเซียน : จากความแตกต่างสู่เอกภาพที่แข็งแกร่ง กลายเป็นแก่นแท้ของหัวใจงานประชุมรมต.ท่องเที่ยวภาคีอาเซียน ATF หรือ ASEAN Tourism Forum ซึ่งจัดขึ้นทุกปีโดยผลัดเปลี่ยนกันเป็นเจ้าภาพไล่ตามลำดับอักษร ปีที่แล้วสิงคโปร์ ปีนี้ไทย และปีหน้าเวียดนาม
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 4 กุมภาพันธ์ 2551)
ทัวร์นอกปีชวด ฝืด!...เร่งปรับทัพหนีตาย
ปี 51 ทัวร์ต่างประเทศ(เอาต์บาวน์)เริ่มระส่ำอีกครั้ง เพราะปัจจัยรอบด้านทั้งการเมือง เศรษฐกิจ ส่งผลให้ต้องปรับตัวจากท่องเที่ยวระยะไกลหันมาใช้ทางเลือกตัวใหม่ด้วยการท่องเที่ยวต่างประเทศราคาถูกซึ่งจะใช้ 4 ประเทศหลักๆ อาทิ “จีน-เวียดนาม-พม่า-มาเก๊า” เข้ามาอยู่ในแพคเกจแทนที่จะเที่ยวในแถบยุโรปหรือประเทศที่อยู่ในระยะไกลเหมือนแต่ก่อน เพื่อคุมเข้มต้นทุนเลือกซื้อที่ไม่เกินทริปละ 15,000 บาท/คน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 28 มกราคม 2551)
ส่องท่องเที่ยว'ปี51...ผู้ประกอบการหืดจับ!
ทิศทางท่องเที่ยวไทยปี2008 แม้ประเทศไทยจะไม่ได้มีอีเว้นท์ใหญ่เป็นจุดขายเหมือนปีที่ผ่านมาก็ตาม แต่สถานการณ์ท่องเที่ยวก็ส่อแววสดใสเนื่องจากมีปัจจัยบวกเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องหน้าตาของรัฐบาลชุดใหม่ที่จะเข้ามาบริหารประเทศ ที่จะส่งผลเสริมให้เป็นปัจจัยบวกชี้ทิศทางท่องเที่ยวในปีนี้ มีแนวโน้มจะไปได้สวย
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 14 มกราคม 2551)
เศรษฐกิจฝืด เงินบาทแข็ง ทัวร์ใน-นอก แก้เกมดึงคนเที่ยวปีใหม่
- มรสุมรอบด้านส่งผลให้ธุรกิจท่องเที่ยวไทยระส่ำทั้งอินบาวด์-เอาท์บาวด์
- หลายค่ายเตรียมงัดกลยุทธ์ออกมาสู้กันสุดฤทธิ์ทั้งราคา ทั้งโปรโมชั่น
- ได้เวลาโรงแรม-ทัวร์-สายการบินงัดกลยุทธ์ออกมาชิงผู้บริโภคยุคเงินแฟ่บ
- จับตาท่องเที่ยวปี 51 หากไม่ปรับตัวเท่ากับเอาคอพาดเขียง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 31 ธันวาคม 2550)
ปฏิบัติการอุ้ม“อิลิทการ์ด”อยู่ก็เหนื่อย...ตายก็หนัก
การต่อชะตาให้ “ไทยแลนด์ อิลิทการ์ด”ดำเนินธุรกิจต่อไปของมติคณะรัฐมนตรี(ครม.) นอกจากจะยังมองไม่เห็นอนาคตว่าบัตรดังกล่าวจะสามารถเนรมิตให้เป็นไปตามแผนงานแต่อย่างใด กลับสร้างความไม่พอใจกับกับวงการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวทั้งๆที่มีกระแสคัดค้านให้ยุบโครงการทิ้งไป
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 16 กรกฎาคม 2550)
จุดจบ “อีลิท การ์ด”ใครได้-ใครเสีย?..
ดูเหมือนว่าเสียงส่วนใหญ่ของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.)ที่อยากให้ยกเลิกบัตรไทยแลนด์ อีลิท การ์ด ทันทีนั้น นอกจากจะไม่สร้างแรงกดดันแล้วยังส่งผลให้รัฐบาลชุดนี้ที่มี ดร.สุวิทย์ ยอดมณี เป็นเจ้ากระทรวงท่องเที่ยวและกีฬากลับเดินหน้ายื้อต่อ เพื่อซื้อเวลาออกไป ถึงแม้ว่าหลายฝ่ายจะมีเสียงออกมาคัดคัดก็ตามแต่รัฐบาลชุดนี้กลับไม่กล้าฟันธงเพื่อยกเลิกโครงการบัตรเทวดา ทั้งๆที่ยังมองไม่เห็นอนาคตว่าบัตรดังกล่าวจะสามารถเนรมิตให้เป็นไปตามแผนงานแต่อย่างใด
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 30 เมษายน 2550)
อันดามันเฟื่องในงาน ITB คาดไฮซีซันนักเที่ยวเพิ่ม20%
จังหวัดอันดามัน ภูเก็ต พังงา กระบี่ ได้รับการตอบรับที่ดีจากเอเย่นต์ทัวร์และนักท่องเที่ยวมาก ในงานส่งเสริมการขายท่องเที่ยว ITB คาดไฮซีซันปลายปีนี้นักท่องเที่ยวเพิ่มกว่าปีที่แล้วไม่ต่ำกว่า 20% สายการบิน-บริษัททัวร์ในยุโรปเตรียมเข้าภูเก็ตตั้งแต่โลว์ซีซันไปจนถึงไฮซีซัน ขณะที่เขาหลักมั่นใจอัตราเข้าพักเกิน 75% กระบี่มั่นใจยอดนักเที่ยวทะลุ 1.7 ล้านคนแน่นอน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 2 เมษายน 2550)
“อภิรักษ์”ปั้นกทม.เมืองคู่แฝดปักกิ่งรองรับท่องเที่ยว-ดูดนักลงทุนทั่วโลก
“อภิรักษ์ โกษะโยธิน” วางแผนปั้นกรุงเทพมหานครเมืองคู่แฝดปักกิ่ง ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม หวังดูดท่องเที่ยว-การลงทุนทั่วโลก ที่ต่อไปจะกลายเป็นรายได้หลักของ กทม. พร้อมร่วมมือทำประชาสัมพันธ์-เส้นทางท่องเที่ยว2 ประเทศ ขณะที่ กทม.ส่งข้าราชการไปศึกษาระบบจัดการโอลิมปิก 2008 ที่จีน เพื่อเตรียมความพร้อมหากไทยได้เป็นเจ้าภาพฯ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 กุมภาพันธ์ 2550)
จับตาอนาคต “อีลิท การ์ด”ล้างบางธุรกิจท่องเที่ยวระดับชาติ
ไทยแลนด์ พริวิเลจ คาร์ด (ทีพีซี) หรือ บัตรไทยแลนด์อีลิท เจ้าของสมญานาม “บัตรเทวดา” ที่เป็นอีกหนึ่งในโปรเจคสร้างของรัฐบาล “ทักษิณ” ที่กำลังลุ้นอยู่ว่าจะอยู่หรือจะไป เป็นอีกหนึ่งโครงการที่อยู่ในขั้นตอนรอการถูกตรวจสอบ เพราะใช้เงินจำนวนมากแต่กลับไม่เกิดผลเท่าที่ควร
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 15 มกราคม 2550)