หยุดบินวันทูโก-วิบากกรรมนกแอร์ไทยแอร์เอเชียลูกค้าแห่ชม
แม้ช่วงเวลากว่า 4 ปีที่ผ่านมาการเปิดให้บริการของสายการบินต้นทุนต่ำจะมีการชิงไหวชิงพริบเพื่อเป็นผู้นำการตลาดมาโดยตลอด หลังจาก 2 ค่ายคู่แข่งอย่าง วันทูโกและนกแอร์เจอพิษราคาน้ำมันและเศรษฐกิจตกต่ำเล่นงานจนต้องปรับตัวหนีตาย ทว่าผลประกอบการของไทยแอร์เอเชียเจ้าของวลีติดหู “ใครๆก็บินได้” กลับมียอดรายได้เติบโตขึ้นกว่าร้อยละ 25 อาณิสงส์ครั้งนี้ส่งผลให้ไทยแอร์เอเชียกำลังจะก้าวขึ้นแท่นเป็นจ้าวตลาดโลว์คอสแอร์ไลน์ในเมืองไทยอย่างชนิดที่คาดไม่ถึง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 18 สิงหาคม 2551)
อานิสงส์น้ำมันแพง!...โลว์คอสต์พลิกวิกฤติสร้างโอกาส
สั่นสะเทือนไปทั้งวงการบินเมื่อดัชนีราคาน้ำมันฉุดไม่อยู่ ผู้ประกอบการบินหลายค่ายต่างฟันธงว่าอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจะได้รับผลกระทบมากที่สุด และธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำคงจะไม่ต่ำต่อไป เพราะในช่วงที่ผ่านมาแต่ละค่ายต่างงัดโปรโมชั่นที่ห้ำหั่นกันด้วยกลไกราคา จนสงครามราคาที่ตั้งไว้ในแต่ละค่ายกลายเป็นกับดักที่ผูกมัดตัวเองไปในที่สุด
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 14 กรกฎาคม 2551)
ฝ่าคลื่นธุรกิจ....พิชิต 3 มหาสมุทร กับ 3 ผู้นำ
- เรียนรู้ 3 กลยุทธ์การตลาด จาก 3 ผู้บริหารแถวหน้า
- "ทศพล แบเลเว็ลด์" ตัวแทน red ocean strategy ฟาดฟันในสมรภูมิธุรกิจอย่างดุเดือด
- "แพทย์หญิงนลินี ไพบูลย์" ถ่ายทอด blue ocean strategy วิธีคิดคือกุญแจสู่ความสำเร็จ
- "ดนัย จันทร์เจ้าฉาย" ยืนยัน white ocean strategy แนวทางสู่ความยั่งยืน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 30 มิถุนายน 2551)
ศึกสามเส้า “โลว์คอส”ไทย...แก้เกมการตลาด
ยากที่จะปฏิเสธได้ว่าช่วงระยะเวลา 3-4 ปีที่ผ่านมา ปรากฏการณ์ใหม่ของอุตสาหกรรมการบินในเมืองไทยที่เปิดให้บริการด้วยสายการบินต้นทุนต่ำ (โลว์คอส แอร์ไลน์) ส่งผลให้การตัดสินใจเดินทางด้วยเครื่องบินของคนไทยสะดวกมากขึ้น จากราคาตั๋วโดยสารที่ถูกลง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 21 มกราคม 2551)
วิบากกรรม “ไทยแอร์เอเชีย”เวอร์ชั่น 3
การปรับโครงสร้างผู้ถือหุ้นใหม่ทั้งหมดของไทยแอร์เอเชียกลายเป็นประเด็นร้อนขึ้นมาอีกครั้ง และส่งผลให้ธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำที่มีสโลแกนว่า “ใครๆก็บินได้”ถูกจับตามองเป็นพิเศษ เพราะการปรับโครงสร้างผู้ถือหุ้นใหม่ครั้งนี้ไม่ใช่ครั้งแรกแต่เป็นการปรับโครงสร้างผู้ถือหุ้นครั้งที่สองหลังจากมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองเกิดขึ้น ซึ่งนับจากนี้เป็นต้นไปจะเป็นการชี้ชะตาว่าไทยแอร์เอเชียจะสามารถหลุดรอดพ้นจากวิถีทางการเมืองได้หรือไม่?...
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 25 มิถุนายน 2550)
“เอนเตอร์เทรนเม้นท์แอร์ไลน์”เส้นทางลัดการสร้างแบรนด์ของ “แอร์เอเชีย”
การขอเป็นสปอร์เซอร์ให้กับทีมสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดของแอร์เอเชีย เป็นหนึ่งยุทธวิธีการตลาดที่ถูกนำมาใช้สร้างแบรนด์ทางลัดให้เป็นที่รู้จักในแถบยุโรปก่อนที่ฤดูกาลไฮซีซันจะมาถึง
ตัวเลขประมาณการปี 48ของนักท่องเที่ยวจากยุโรปกว่า 8 ล้านคนต่อปีคือกลุ่มเป้าหมายที่สายการบิน แอร์เอเชีย ต้องการให้เข้าไปใช้บริการมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ดังนั้นการทุ่มเม็ดเงินจำนวนมหาศาลเกือบพันล้านบาทเพื่อสนับสนุนทีมสโมสรฟุตบอลดังอย่างแมนยูฯจึงเป็นยุทธวิธีหนึ่งที่จะสร้างแบรนด์ให้เป็นที่รู้จักของคนยุโรปมากขึ้น และเป็นทางเลือกหนึ่งของการเข้าใช้บริการอันดับต้นๆในธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำแถบเอเชีย
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 กรกฎาคม 2548)